คณะกรรมการพัฒนาคุณห้องปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพที่ 5

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
Advertisements

Service Plan สาขา NCD.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สวัสดีครับ.
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
25/07/2006.
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
ประเด็นการตรวจราชการ
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
คณะกรรมการพัฒนาคุณห้องปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพที่ 5
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
Service plan สาขาไต นพ.ประนาท เชี่ยววานิช.
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
ผลการดำเนินการปีงบ 2557 ด้านบริหาร - จัดทำแผน ขอเครื่องมือในการจัดตั้ง - หน่วยบริการฟอกเลือด รพ กบินทร์บุรี - ทำแผนในการพัฒนาบุคลากร ในการเข้ารับการอบรม.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
การวางแผนยุทธศาสตร์.
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การพัฒนาระบบบริการสาขาหัวใจ เขต1
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
แนวทางพัฒนา ระบบบริการสุขภาพที่ 5 สูติกรรม
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะกรรมการพัฒนาคุณห้องปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพที่ 5 แผนยุทธฯของห้องปฏิบัติการชันสูตรและรังสีวินิจฉัย ด้านบริการ : KPI14 ผ่านมาตรฐาน 100% ในปี 59 และการพัฒนาให้ตอบสนอง SP10 สาขา คณะกรรมการพัฒนาคุณห้องปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพที่ 5

สถานะการณ์ ห้องปฏิบัติการชันสูตรฯ ผ่านมาตรฐาน 60 จาก 69 แห่ง (87%) ห้องปฏิบัติการชันสูตรฯ ผ่านมาตรฐาน 60 จาก 69 แห่ง (87%) ห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย ผ่านมาตรฐาน 22 จาก 68 แห่ง (32.4%) ห้องปฏิบัติการปฐมภูมิ ผ่านมาตรฐาน ≈ 176 จาก 929 แห่ง (19%) ยังไม่มีการตั้งเป้าหมายการพัฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการ SP 10 สาขา

ปัญหาที่สำคัญ ขาดแคลนบุคลากรในสายงานวิชาชีพ โดยเฉพาะโรงพยาบาลชุมชน เช่น นักรังสีการแพทย์ นักเทคนิคการแพทย์ เป็นต้น การบริหารความปลอดภัยทั้งต่อผู้ปฏิบัติงานและต่อผู้รับบริการ มี รพ.หลายแห่งที่ขยายศักยภาพการให้บริการ แต่ห้องปฏิบัติการยังไม่ได้ปรับให้เหมาะสมกับศักยภาพ

เป้าประสงค์ / ผลลัพธ์ที่ต้องการ เป้าประสงค์ : ห้องปฏิบัติการทุกระดับผ่านมาตรฐาน 100 % ภายในปี 2559 ห้องปฏิบัติการชันสูตรฯ 69 แห่ง (100%) ภายในปี 2559 ห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย 68 แห่ง (100%) ภายในปี 2559 ห้องปฏิบัติการหน่วยปฐมภูมิ 929 แห่ง (100%) ภายในปี 2559 มีแผนและเป้าหมายการพัฒนาให้ตอบสนอง SP ผลลัพท์ที่ต้องการ ห้องปฏิบัติการชันสูตรฯ ที่เหลืออีก 9 แห่ง ผ่านมาตรฐาน ในปี 2558 ห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย ที่เหลืออีก 46 แห่ง ผ่านมาตรฐาน ในปี 2558 ห้องปฏิบัติการหน่วยปฐมภูมิ ที่เหลืออีก 753 แห่ง ผ่านมาตรฐาน ในปี 2558 ผลการดำเนินการพัฒนาเป็นไปตามเป้าหมายให้บริการของ SP

มาตรการสำคัญ 1. กำหนดเป้าหมายและแผนการพัฒนาให้ชัดเจน 2.พัฒนาส่วนขาด (GAP และโอกาสพัฒนาที่ได้รับ) 3.ตรวจประเมินและเฝ้าระวัง 2.1 ติดตามผลหน่วยบริการที่ไม่ผ่านให้ปฏิบัติการแก้ไขทั้งด้านคุณภาพและด้านการพัฒนาตามเป้าหมาย SP 2.2 พัฒนาศักยภาพผู้ตรวจประเมิน

ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดหลัก ชันสูตรฯ ผ่านมาตรฐาน 69 แห่ง (100%) ในปี 58 รังสีวินิจฉัย ผ่านมาตรฐาน 44 แห่ง (65%)ในปี58 ปฐมภูมิ ผ่านมาตรฐาน 600 แห่ง (65%)ในปี58 มีการกำหนดตัวชี้วัดและแผนการพัฒนา lab และรังสีฯ ให้สอดรับกับ SP ชัดเจน

กิจกรรมหลักระดับจังหวัด แผนปฏิบัติการ มาตรการ กิจกรรมหลักระดับเขต กิจกรรมหลักระดับจังหวัด กำหนดเป้าหมายและแผนการพัฒนาให้ชัดเจน ประชุมคณะกรรมการระดับเขต 1. ผู้แทนระดับจังหวัดรวบรวมข้อมูลและความคิดเห็นระดับจังหวัด นำเข้าสู่การประชุมเขต พัฒนาส่วนขาด พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการในการจัดทำEQA สำหรับหน่วยปฐมภูมิ พัฒนาการควบคุมคุณภาพระบบ PACS ในรพ.และการเชื่อมโยงข้อมูล PACS ในระดับเขต 1. การนิเทศติดตามและการตรวจประเมินภายในระดับจังหวัด ตรวจประเมินและเฝ้าระวัง ติดตามผลหน่วยที่ไม่ผ่านให้เกิดปฏิบัติการแก้ไข 2. พัฒนาศักยภาพผู้ตรวจประเมิน 1. พัฒนหน่วยงานที่ไม่ผ่านมาตรฐานให้แก้ไขส่วนขาดและโอกาสพัฒนาที่ได้รับจากการตรวจประเมินปี 57

ร่าง การพัฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการของ SP 10 สาขา : ที่ผ่านมายังไม่มีการกำหนดเป้าหมาย และ KPI ชัดเจน สาขา ชันสูตรฯ รังสีฯ แผน 5 สาขาหลัก -M2 ขึ้นไปต้องมี ธนาคารเลือดเต็มรูปแบบ - ทุกขนาด ตรวจ Coag. รองรับการให้ยาละลายลิ่มเลือดได้ -มีเครื่องมือและให้บริการพื้นฐานได้ตามมาตรฐานรังสี ส่วนที่ 1 ได้ครบตามขนาด กำหนดการประชุมให้มีประเด็นนี้ในเวทีประชุมเครือข่าย เพื่อกำหนดเป้าหมายร่วมกัน อุบัติเหตุ A , S , M1 , M2 , F1 มีเลือดสำรองพร้อมใช้ตลอด เพียงพอ และมี lab Blood bank ที่สามารถจ่ายเลือดได้ทันภายใน 10 นาทีกรณี Stat มะเร็ง รพ.ราชบุรี ศักยภาพรังสีรักษา PHER A, S, M1 เตรียม DRA lab การรองรับการ investigateผู้ป่วยสงสัยเชื้อโรคอันตรายสูง เช่น EBOLA ไต -ปรับวิธีCreatinine เป็นวิธีมาตรฐานเดียวกันสำหรับeGFR - รพ.ราชบุรี หาก set การปลูกถ่ายไต ต้องมี lab HLA และ tissue typing ด้วย NCD lab ต้องลงมาช่วยคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ช่วยพัฒนาคุณภาพ lab ปฐมภูมิ คุณภาพเครื่องวัดความดันโลหิต (รังสีและเครื่องมือแพทย์)