คณะกรรมการพัฒนาคุณห้องปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพที่ 5 แผนยุทธฯของห้องปฏิบัติการชันสูตรและรังสีวินิจฉัย ด้านบริการ : KPI14 ผ่านมาตรฐาน 100% ในปี 59 และการพัฒนาให้ตอบสนอง SP10 สาขา คณะกรรมการพัฒนาคุณห้องปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพที่ 5
สถานะการณ์ ห้องปฏิบัติการชันสูตรฯ ผ่านมาตรฐาน 60 จาก 69 แห่ง (87%) ห้องปฏิบัติการชันสูตรฯ ผ่านมาตรฐาน 60 จาก 69 แห่ง (87%) ห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย ผ่านมาตรฐาน 22 จาก 68 แห่ง (32.4%) ห้องปฏิบัติการปฐมภูมิ ผ่านมาตรฐาน ≈ 176 จาก 929 แห่ง (19%) ยังไม่มีการตั้งเป้าหมายการพัฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการ SP 10 สาขา
ปัญหาที่สำคัญ ขาดแคลนบุคลากรในสายงานวิชาชีพ โดยเฉพาะโรงพยาบาลชุมชน เช่น นักรังสีการแพทย์ นักเทคนิคการแพทย์ เป็นต้น การบริหารความปลอดภัยทั้งต่อผู้ปฏิบัติงานและต่อผู้รับบริการ มี รพ.หลายแห่งที่ขยายศักยภาพการให้บริการ แต่ห้องปฏิบัติการยังไม่ได้ปรับให้เหมาะสมกับศักยภาพ
เป้าประสงค์ / ผลลัพธ์ที่ต้องการ เป้าประสงค์ : ห้องปฏิบัติการทุกระดับผ่านมาตรฐาน 100 % ภายในปี 2559 ห้องปฏิบัติการชันสูตรฯ 69 แห่ง (100%) ภายในปี 2559 ห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย 68 แห่ง (100%) ภายในปี 2559 ห้องปฏิบัติการหน่วยปฐมภูมิ 929 แห่ง (100%) ภายในปี 2559 มีแผนและเป้าหมายการพัฒนาให้ตอบสนอง SP ผลลัพท์ที่ต้องการ ห้องปฏิบัติการชันสูตรฯ ที่เหลืออีก 9 แห่ง ผ่านมาตรฐาน ในปี 2558 ห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย ที่เหลืออีก 46 แห่ง ผ่านมาตรฐาน ในปี 2558 ห้องปฏิบัติการหน่วยปฐมภูมิ ที่เหลืออีก 753 แห่ง ผ่านมาตรฐาน ในปี 2558 ผลการดำเนินการพัฒนาเป็นไปตามเป้าหมายให้บริการของ SP
มาตรการสำคัญ 1. กำหนดเป้าหมายและแผนการพัฒนาให้ชัดเจน 2.พัฒนาส่วนขาด (GAP และโอกาสพัฒนาที่ได้รับ) 3.ตรวจประเมินและเฝ้าระวัง 2.1 ติดตามผลหน่วยบริการที่ไม่ผ่านให้ปฏิบัติการแก้ไขทั้งด้านคุณภาพและด้านการพัฒนาตามเป้าหมาย SP 2.2 พัฒนาศักยภาพผู้ตรวจประเมิน
ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดหลัก ชันสูตรฯ ผ่านมาตรฐาน 69 แห่ง (100%) ในปี 58 รังสีวินิจฉัย ผ่านมาตรฐาน 44 แห่ง (65%)ในปี58 ปฐมภูมิ ผ่านมาตรฐาน 600 แห่ง (65%)ในปี58 มีการกำหนดตัวชี้วัดและแผนการพัฒนา lab และรังสีฯ ให้สอดรับกับ SP ชัดเจน
กิจกรรมหลักระดับจังหวัด แผนปฏิบัติการ มาตรการ กิจกรรมหลักระดับเขต กิจกรรมหลักระดับจังหวัด กำหนดเป้าหมายและแผนการพัฒนาให้ชัดเจน ประชุมคณะกรรมการระดับเขต 1. ผู้แทนระดับจังหวัดรวบรวมข้อมูลและความคิดเห็นระดับจังหวัด นำเข้าสู่การประชุมเขต พัฒนาส่วนขาด พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการในการจัดทำEQA สำหรับหน่วยปฐมภูมิ พัฒนาการควบคุมคุณภาพระบบ PACS ในรพ.และการเชื่อมโยงข้อมูล PACS ในระดับเขต 1. การนิเทศติดตามและการตรวจประเมินภายในระดับจังหวัด ตรวจประเมินและเฝ้าระวัง ติดตามผลหน่วยที่ไม่ผ่านให้เกิดปฏิบัติการแก้ไข 2. พัฒนาศักยภาพผู้ตรวจประเมิน 1. พัฒนหน่วยงานที่ไม่ผ่านมาตรฐานให้แก้ไขส่วนขาดและโอกาสพัฒนาที่ได้รับจากการตรวจประเมินปี 57
ร่าง การพัฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการของ SP 10 สาขา : ที่ผ่านมายังไม่มีการกำหนดเป้าหมาย และ KPI ชัดเจน สาขา ชันสูตรฯ รังสีฯ แผน 5 สาขาหลัก -M2 ขึ้นไปต้องมี ธนาคารเลือดเต็มรูปแบบ - ทุกขนาด ตรวจ Coag. รองรับการให้ยาละลายลิ่มเลือดได้ -มีเครื่องมือและให้บริการพื้นฐานได้ตามมาตรฐานรังสี ส่วนที่ 1 ได้ครบตามขนาด กำหนดการประชุมให้มีประเด็นนี้ในเวทีประชุมเครือข่าย เพื่อกำหนดเป้าหมายร่วมกัน อุบัติเหตุ A , S , M1 , M2 , F1 มีเลือดสำรองพร้อมใช้ตลอด เพียงพอ และมี lab Blood bank ที่สามารถจ่ายเลือดได้ทันภายใน 10 นาทีกรณี Stat มะเร็ง รพ.ราชบุรี ศักยภาพรังสีรักษา PHER A, S, M1 เตรียม DRA lab การรองรับการ investigateผู้ป่วยสงสัยเชื้อโรคอันตรายสูง เช่น EBOLA ไต -ปรับวิธีCreatinine เป็นวิธีมาตรฐานเดียวกันสำหรับeGFR - รพ.ราชบุรี หาก set การปลูกถ่ายไต ต้องมี lab HLA และ tissue typing ด้วย NCD lab ต้องลงมาช่วยคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ช่วยพัฒนาคุณภาพ lab ปฐมภูมิ คุณภาพเครื่องวัดความดันโลหิต (รังสีและเครื่องมือแพทย์)