 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

โดย.. ไชยยงค์ กงศรี ฝ่ายวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2553
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 14 เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
หน่วยที่ 5 ศูนย์บริการแท็บเล็ตเพื่อการเรียนการสอน
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
หน่วยเซลล์วิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี
วิธีการจัดแฟ้มมาตรฐาน
Lesson 10 Controlling.
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ซอฟต์แวร์.
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
การจัดการองค์ความรู้ การจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศูนย์สารสนเทศ.
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การปรับปรุง และพัฒนางาน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
e-Office การบริหารสำนักงานสมัยใหม่
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
ความต้องการเชิงคุณภาพ (Qualitative Requirements)
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
การจัดการองค์ความรู้ ของ สำนักงานเลขานุการ กรม  กิจกรรมที่ดำเนินการ.
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
วันที่ มกราคม 2555 ณ ห้อง 107 วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
การชี้แจงวิธีการใช้งาน ระบบติดตามออนไลน์
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน ทางอิเล็กทรอนิกส์ของ สป.
เส้นทางสู่ “ ข้อมูลแข็งแรง ” ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก กรมอนามัย งานสารสนเทศ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การประยุกต์ใช้ ระบบสารสนเทศ ในองค์กร. เนื้อหา การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในงานบริการสถาบัน บริการสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในการจัดการเอกสาร การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร.

การประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรม
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบสารสนเทศย่อยทางธุรกิจ Business Information systems
ADDIE Model.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาล
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
แบบประเมินความเสี่ยงและการควบคุม
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
การพยาบาลเฉพาะทาง สาขา การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็ง
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น ความดันบรรยากาศ  จัดการเครื่องมือ และ อุปกรณ์มาตรฐาน ทั้งหมด เช่น รายการของอุปกรณ์ สำหรับการสอบเทียบ การบำรุงรักษา เชิงป้องกัน เอกสารข้อมูลอุปกรณ์ พื้นฐานพร้อมกับรายละเอียดการสอบ เทียบ การตรวจสอบอุปกรณ์ Laboratory Resource Management  ควบคุมการไหลของ การปฏิบัติงานสอบเทียบ ทั้งระบบ  บันทึกข้อมูลการสอบเทียบและ คำนวณค่าความไม่แน่นอนของการ วัดใน แต่ละสาขาของห้องปฏิบัติการตาม หลักการ มาตรวิทยา  สร้างใบรายงานผลแบบอัตโนมัติ ติดตามการลงนามอนุมัติ และการ แจกจ่ายใบรับรองแก่ผู้รับบริการ Calibration & Workflow Management Quality Management  ติดตามการเปลี่ยนแปลงเอกสาร ทั้งหมด การอนุญาตใช้ บันทึกการ แก้ไข รวมถึงการแจกจ่ายเอกสารไป ยังผู้มีสิทธิ์เข้าถึงในรูปแบบ อิเล็กทรอนิกส์  รวบรวมข้อบกพร่องทั้งหมด การติดตาม การแก้ไขและ ตรวจสอบประสิทธิภาพ  การแก้ไข ตั้งแต่เริ่ม จนถึงปิด  สถานะ ข้อบกพร่อง  รวบรวม ข้อมูล  ที่เกี่ยวข้อง กับระบบ  บริหาร คุณภาพ Customer Service & Tracking Process  ผู้รับบริการสามารถขอรับบริการสอบ เทียบได้ตลอดเวลาผ่านระบบอิน เทอร์เน็ท  ผู้รับบริการสามารถติดตาม กระบวนการสอบเทียบเครื่องมือที่ ขอรับบริการ ตั้งแต่รับเครื่องมือ เข้าห้องปฏิบัติการจนกระทั่ง เครื่องมือ สอบเทียบเสร็จและออกใบรับรอง  ผู้รับบริการสามารถขอข้อมูล วิชาการและติดต่อกับ เจ้าหน้าที่ได้โดยตรง ผ่านเว็บไซต์ Laboratory Information Management System Medical Engineering System รูปที่ 1 องค์ประกอบของระบบ คือ ระบบบริหารข้อมูลสำหรับ ห้องปฏิบัติการสอบเทียบกองวิศวกรรมการแพทย์ เป็นระบบที่รวบรวม ซอฟแวร์ ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆในห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC17025 เพื่อให้การบริการสอบเทียบมีประสิทธิภาพ การ ติดต่อระหว่างผู้รับบริการกับห้องปฏิบัติการและการสร้างหลักฐาน สำหรับการตรวจประเมินมีความสะดวกมากขึ้น ภายในระบบประกอบ ไปด้วยโปรแกรมย่อยๆทั้งโปรแกรมบนวินโดวส์ (Windows-Based Application) และโปรแกรมเว็บ (Web-Based Application) ซึ่งมีการ ใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน Barcode กับ Barcode กับ ในอดีตการ บ่งชี้เครื่องมือนิยมใช้รหัสประจําเครื่องการ (Serial Number) ซึ่งการได้มาของข้อมูล ที่ถูกต้อง อาศัยทักษะ ความชำนาญ และความละเอียดของผู้ตรวจสอบ ในระบบงาน ของห้องปฏิบัติการจึงมีปัญหาในการชี้บ่งข้อมูลของเครื่องมือเป็นอย่างมาก ดังนั้น การนำรหัสแท่งมาใช้ในระบบ โดยเฉพาะการนำมาบ่งชี้ เครื่องมือ ทำให้เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการและผู้รับบริการสามารถบ่งชี้เครื่องมือ สะดวกมากขึ้น เช่น การขอรับบริการ ผู้รับบริการสามารถพิมพ์หรือใช้เครื่องอ่านรหัส แท่ง (Barcode Scanner) อ่านรหัสแท่งที่ติดอยู่กับเครื่องมือนั้นได้ อีกทั้งเจ้าหน้าที่ ห้องปฏิบัติการสามารถระบุเครื่องมือและตรวจสอบได้โดยไม่ต้องเขียนรายละเอียด อื่นๆ เพียงจดรหัสแท่งเท่านั้น ทำให้การทำงานของเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการรวดเร็ว และช่วยลดความผิดพลาดในการคีย์ข้อมูลได้มากขึ้น ประโยชน์และการนำไปใช้ของระบบ โรงพยาบาลและ หน่วยงาน ให้บริการสอบเทียบ มีระบบบริหารข้อมูล ต้นแบบ และช่วยกระตุ้นให้ มีการจัดตั้งระบบสอบ เทียบหรือห้องปฏิบัติการ สอบเทียบ ในโรงพยาบาล ทำให้เครื่องมือแพทย์ ได้รับการดูแลรักษาในวง กว้างมากขึ้น บทบาทการควบคุม กำกับ เมื่อโรงพยาบาลและ หน่วยงานให้บริการสอบ เทียบมีระบบและ ฐานข้อมูลออนไลน์ ใน ฐานะหน่วยงานควบคุม กำกับสามารถตรวจสอบ ข้อมูล ติดตามผลการ ดำเนินงานผ่านระบบอิน เทอร์เน็ทได้สะดวกมากขึ้น และเป็นการลดภาระของ หน่วยงานที่ถูกตรวจ ประเมินในการจัดทำ เอกสาร การศึกษาวิจัย ฐานข้อมูลที่ได้รับจากทุก กิจกรรมของห้องปฏิบัติการ โดยเฉพาะฐานข้อมูล เครื่องมือแพทย์และ เครื่องมือมาตรฐาน สามารถนำมาวิเคราะห์ ประเมิน สร้างมาตรฐาน สร้างงานวิจัยในหลายๆ รูปแบบได้