สถานการณ์ประมงทะเลในประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
“สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย”
นโยบายคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
กองแผนงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
แผนปฏิบัติตามตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ จำนวนฟาร์มที่ตรวจประเมินและ รับรองมาตรฐาน 2. จำนวนพันธุ์สัตว์น้ำที่ผลิตและนำไป ปล่อยในแหล่งน้ำ 3. จำนวนพันธุ์สัตว์น้ำที่ผลิตในพื้นที่
นายสิทธิพล เมืองสง พร้อมเจ้าหน้าที่ฯ ร่วมกับสำนักงานประมงจังหวัด ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดพัทลุง หน่วยงานราชการ ในพื้นที่ ประชาชนและนักเรียน.
โครงการภายใต้แผนพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ปีงบประมาณ 2553 (ประชาคมระยะที่ 1) จังหวัดนราธิวาส.
สำนักงานประมงจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด สามเหลี่ยมอันดามัน
ส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การประชุมสัมมนา เรื่อง การบริหารจัดการข้อมูลด้านแผนที่
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
กลุ่มที่ 5 : บุคคลที่มีการเรียนรู้ผิดปกติ
เป้าหมายสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ ปี 56 แผนงาน เป้าหมาย
ดำเนินการโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส
กิจกรรมประมงโรงเรียน
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
พืชเศรษฐกิจ อำเภอเต่างอย
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ณ เดือนสิงหาคม 2553 สำนักงานประมงจังหวัด อุตรดิตถ์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2553 เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตร.
องค์ประกอบผลประโยชน์ของรัฐ ตามระบบสัมปทานไทย(Thailand III)
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
แนวคิดและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
แผนงานป้องกันและลดผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลง สภาวะภูมิอากาศ โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรอุทยาน แห่งชาติทางทะเล ( กิจกรรมจัดการแนวปะการังและชายหาด )
ธุรกิจประมงและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
ปฏิทินการประชุม คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์ประมงทะเลในประเทศไทย จุมพล สงวนสิน ผู้อำนวยการสำนักวิจัยและพัฒนาประมงทะเล

ผลผลิตสัตว์ทะเลจากการประมงบริเวณน่านน้ำไทย

จำนวนเรือที่จดทะเบียนฯ การมีไว้ในครอบครองซึ่งเครื่องมือทำการประมงในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน

จำนวนเรือที่จดทะเบียนฯ การมีไว้ในครอบครองซึ่งเครื่องมือทำการประมงในน่านน้ำไทยจำแนกตามชนิดเครื่องมือทำการประมง

จำนวนเรือที่จดทะเบียนฯ การมีไว้ในครอบครองซึ่งเครื่องมือทำการประมงในน่านน้ำไทยจำแนกตามชนิดเครื่องมือทำการประมง 13,056 1,661 11,395 รวมทั้งหมด 2,289 447 1,842 อื่นๆ 3,100 230 2,870 อวนครอบ 277 - อวนช้อน อวนยก 1,406 85 1,321 อวนติดตา 431 3 428 อวนรุน 1,190 212 978 อวนล้อมจับ 4,363 684 3,679 อวนลาก อันดามัน อ่าวไทย เครื่องมือ

อัตราการจับสัตว์น้ำจากเรือสำรวจประมงบริเวณอ่าวไทย

อัตราการจับสัตว์น้ำจากเรือสำรวจประมงฝั่งทะเลอันดามัน 282.86 กก./ชม. 44.172 กก./ชม.

ปริมาณที่จับได้สูงสุดและยั่งยืน และสถานภาพปลาหน้าดินและปลาเป็ด ในอ่าวไทย ปริมาณสัตว์น้ำที่จับได้สูงสุดและยั่งยืน 900,376 ตัน ปริมาณการลงแรงประมงที่เหมาะสม 31.06 ล้านชั่วโมง ผลจับ ปี 2550 614,818 ตัน การลงแรงประมง ปี 2550 46.68 ล้านชั่วโมง สถานภาพ สูงกว่าระดับที่เหมาะสม 33 %

อัตราการจับและองค์ประกอบสัตว์น้ำจากเรืออวนลากทางฝั่งอ่าวไทย ผลจับทั้งหมด อัตราการจับ ร้อยละ อวนลาก แผ่นตะเฆ่ < 14 เมตร 20.35±13.54 11.41 56.07 8.94 43.93 38.15±20.06 20.3 53.21 17.85 46.79 อวนลากคู่ 139.73±75.64 90.11 64.49 49.62 35.51 สัตว์น้ำเศรษฐกิจ ปลาเป็ด แผ่นตะเฆ่ขนาด 14-18 เมตร

แนวทางการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ สภาพปัญหา ทรัพยากรสัตว์น้ำเสื่อมโทรม สาเหตุจากสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม ทำการประมงเกินกำลังผลิต (Overfishing) แนวทางแก้ไข - กำหนดมาตรการห้ามทำการประมงด้วยเครื่องมือบางชนิดในแต่ละแหล่งประมง -กำหนดมาตรการอนุรักษ์ เช่น การกำหนดเขตประมง จำกัดขนาดตาอวน มาตรการควบคุมเครื่องมือประมงที่มากเกินไป

แนวทางแก้ไข ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ จัดสร้างปะการังเทียม สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ -สนับสนุนการปรับเปลี่ยนเครื่องมือประมงที่ทำลายพันธุ์สัตว์น้ำเป็นเครื่องมือประมงที่ไม่ทำลายพันธุ์สัตว์น้ำ - ส่งเสริมการทำประมงนอกน่านน้ำ

แผนภูมิแนวทางการจัดการการทำประมงทรัพยากรสัตว์น้ำหน้าดินในอ่าวไทย การขยายขนาดตาอวนก้นถุงของอวนลากและอวนรุน การบริหารจัดการการประมงอวนลาก และอวนรุน มาตรการสนับสนุนเพื่อความยั่งยืน การควบคุมการทำประมงโดยการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด การลดจำนวนเรืออวนลากและอวนรุนลงจากเดิมร้อยละ 33 การควบคุมจำนวนเรืออวนลากและอวนรุน การจัดตั้งกองทุนเพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนอาชีพและซื้อเรือคืน การกำหนดเขตการทำประมงและเครื่องมือประมงที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ การขยายพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์สัตว์น้ำให้มากขึ้น การจัดสร้างแหล่งอาศัยสัตว์ทะเลและปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำและปฏิบัติตามกฎหมาย การลงแรงประมงที่เหมาะสมกับศักย์การผลิตของทรัพยากรสัตว์หน้าดิน การฟื้นฟูระบบนิเวศและเพิ่มผลผลิตของทรัพยากรสัตว์น้ำ การจัดการการทำประมงทรัพยากรสัตว์น้ำหน้าดิน ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรสัตว์น้ำหน้าดิน

สภาพปัญหา ปัญหาความขัดแย้งในการทำประมง แนวทางแก้ไข ควบคุม ดูแล การบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง จัดตั้งคณะกรรมการพหุพาคี ทั้งระดับจังหวัดและชุมชนเพื่อหาข้อยุติ เน้นการมีส่วนร่วมในการจัดการประมง - จัดทำแผนแม่บทการจัดการประมงทะเลไทย

สภาพปัญหา ปัจจัยการผลิตมีราคาสูง แนวทางแก้ไข - จำหน่ายน้ำมันดีเซล (น้ำมันเขียว) ในเขตต่อเนื่อง ในราคาต่ำกว่า บนฝั่ง ลิตรละ 8-10 บาท - จำหน่ายน้ำมันดีเซล (น้ำมันม่วง) ในทะเลอาณาเขต ในราคาต่ำกว่า ลิตรละ 2 บาท - ส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซล - ทดลองใช้ไบโอดีเซล (B100) กับเครื่องยนต์เรือ - ส่งเสริมการใช้กาซธรรมชาติ ทั้ง NGV และ LNG สำหรับเรือประมง

สภาพปัญหา การขาดแคลนแรงงาน แนวทางแก้ไข - ศึกษาเครื่องมือที่จะนำมาช่วยในการลดแรงงานการทำประมง

สภาพปัญหา ปัญหาราคาสัตว์น้ำตกต่ำ แนวทางแก้ไข ส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่ม เช่น จัดตั้งสหกรณ์ประมง กลุ่มชาวประมง จัดตั้งตลาดกลางสินค้าสัตว์น้ำ ส่งเสริมการแปรรูป เพื่อเพิ่มมูลค่าสัตว์น้ำ ส่งเสริมสุขอนามัยเรือประมง เพื่อยกระดับมาตรฐานสินค้า

สภาพปัญหา ปัญหาการประมงนอกน่านน้ำ สาเหตุจาก - การประกาศเขตเศรษฐกิจจำเพาะ (EEZ) ของประเทศเพื่อนบ้าน ผลจากกฎและระเบียบในการทำการประมงในน่านน้ำประเทศเพื่อนบ้านและน่านน้ำสากล แนวทางแก้ไข - ส่งเสริมและพัฒนาการประมงนอกน่านน้ำไทย - สนับสนุนการปรับเปลี่ยนเรือประมงไปทำการประมงอวนล้อมจับปลาทูน่า ในน่านน้ำสากล - สนับสนุนการปรับเปลี่ยนเรือประมงไปทำการประมงเบ็ดราวปลาทูน่า

สภาพปัญหา ปัญหาและผลกระทบจากกฎระเบียบของสหภาพยุโรป เกี่ยวกับการป้องกัน ขจัด และยับยั้งการทำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (การทำการประมงไอยูยู) แนวทางแก้ไข - ประชุมสัมมนา ชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ และเอกชนได้เข้าใจ และเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ - ร่วมศึกษาผลกระทบกฎระเบียบดังกล่าวที่จะมีต่อประเทศไทย

แนวทางแก้ไข กรมประมงเป็นหน่วยงาน competent authority และจัดวางระบบการออกใบรับรองสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ รวมทั้งการตรวจสอบย้อนกลับ - ฝึกอบรมทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการดำเนินงานรวมทั้งการทำการประมงและเรือที่ถูกกฎหมาย ได้แก่ การจดทะเบียนเรือและการขออาชญาบัตรทำการประมง

ขอขอบคุณ สวัสดี

แนวทางการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ ทางตรง ลดการลงแรงประมง ฝั่งทะเลอันดามัน:ทรัพยากรปลาผิวน้ำและปลาหน้าดินอยู่ ในสภาวะที่ยอมรับได้ ฝั่งอ่าวไทย : ทรัพยากรปลาผิวน้ำ สูงกว่าเพียง 5% ทรัพยากรปลาหน้าดิน สูงกว่าระดับที่เหมาะสม 33% ต้องลดการลงแรงประมง

แนวทางการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ ทางอ้อม การปรับเปลี่ยนเครื่องมือประมง ขยายตาอวนก้นถุงอวนลากอวนรุน จากปัจจุบัน 2.5 ซม. อวนลากปลา ขยายเป็น 4 ซม. ปริมาณสัตว์น้ำที่หลุดลอด 29 % มูลค่า 1,323 ล้านบาท ผ่านไป 6 เดือน สัตว์น้ำที่ได้รับมีมูลค่า 2,799 ล้านบาท อวนลากปลา ขยายเป็น 6 ซม. ปริมาณสัตว์น้ำที่หลุดลอด 71 % มูลค่า 2,739 ล้านบาท ผ่านไป 6 เดือน สัตว์น้ำที่ได้รับมีมูลค่า 6,323 ล้านบาท

แนวทางการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ ทางอ้อม ขยายเขตอนุรักษ์และควบคุมการทำประมงอย่างมีประสิทธิภาพ เขตมาตรการปิดอ่าว เขตมาตรการอนุรักษ์ตามระยะห่างฝั่ง

มาตรการปิดอ่าวบริเวณอ่าวไทยและทะเลอันดามัน

มาตรการขยายเขต 3 ไมล์ เป็น 5 ไมล์

ข้อพิจารณาในการขยายเขตอนุรักษ์ ใกล้ฝั่งมีสัตว์น้ำเศรษฐกิจขนาดเล็กกว่าขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ์ ใกล้ฝั่งมีความหนาแน่นของลูกปลาขนาดเล็กสูงกว่าบริเวณห่างฝั่ง แหล่งวางไข่และเลี้ยงตัววัยอ่อน

แผนภูมิแนวทางการจัดการการทำประมงทรัพยากรสัตว์น้ำหน้าดินในอ่าวไทย การขยายขนาดตาอวนก้นถุงของอวนลากและอวนรุน การบริหารจัดการการประมงอวนลาก และอวนรุน มาตรการสนับสนุนเพื่อความยั่งยืน การควบคุมการทำประมงโดยการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด การลดจำนวนเรืออวนลากและอวนรุนลงจากเดิมร้อยละ 33 การควบคุมจำนวนเรืออวนลากและอวนรุน การจัดตั้งกองทุนเพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนอาชีพและซื้อเรือคืน การกำหนดเขตการทำประมงและเครื่องมือประมงที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ การขยายพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์สัตว์น้ำให้มากขึ้น การจัดสร้างแหล่งอาศัยสัตว์ทะเลและปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำและปฏิบัติตามกฎหมาย การลงแรงประมงที่เหมาะสมกับศักย์การผลิตของทรัพยากรสัตว์หน้าดิน การฟื้นฟูระบบนิเวศและเพิ่มผลผลิตของทรัพยากรสัตว์น้ำ การจัดการการทำประมงทรัพยากรสัตว์น้ำหน้าดิน ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรสัตว์น้ำหน้าดิน

ปริมาณที่จับได้สูงสุดและยั่งยืน และสถานภาพปลาหน้าดินและปลาเป็ด ในอ่าวไทยเฉลี่ย ปี 2546-2550 ปริมาณสัตว์น้ำที่จับได้สูงสุดและยั่งยืน 900,376 ตัน ปริมาณการลงแรงประมงที่เหมาะสม 31.06 ล้านชั่วโมง ผลจับเฉลี่ย ปี 2546-2550 703,248 ตัน การลงแรงประมงเฉลี่ย ปี 2546-2550 43.30 ล้านชั่วโมง สถานภาพ สูงกว่า 28 %

ปริมาณการจับปลาหน้าดินและปลาเป็ดในอ่าวไทย ปี 2514-2550

ปริมาณการจับปลาหน้าดินในอ่าวไทย ปี 2514-2550

ปริมาณการจับปลาเป็ดในอ่าวไทย ปี 2514-2550

ปริมาณที่จับได้สูงสุดและยั่งยืน และสถานภาพปลาหน้าดินและปลาเป็ด ทางฝั่งทะเลอันดามัน ปริมาณสัตว์น้ำที่จับได้สูงสุดและยั่งยืน 436,832 ตัน ปริมาณการลงแรงประมงที่เหมาะสม 5.77 ล้านชั่วโมง ผลจับเฉลี่ย ปี 2546-2550 427,210 ตัน การลงแรงประมงเฉลี่ย ปี 2546-2550 5.45 ล้านชั่วโมง สถานภาพ ต่ำกว่า 5 %

ปริมาณการจับปลาหน้าดินและปลาเป็ดทางฝั่งอันดามันปี 2541-2550

ปริมาณการจับปลาผิวน้ำในอ่าวไทย ปี ผลผลิต(ตัน) ชั่งโมงประมง 2545 645,888.00 373,777.14 2546 662,712.00 382,654.91 2547 695,904.00 392,754.42 2548 676,040.00 433,193.37 2549 603,554.00 418,159.88 เฉลี่ย 656,819.60 400,107.94

ผลจับที่สูงสุดและยั่งยืน ผลจับ (พันตัน) ชั่วโมงการลงแรงประมง

เปรียบเทียบขนาดและสัดส่วนขนาดสัตว์น้ำ ระหว่างเขต 3 ไมล์ทะเลกับ 10 ไมล์ทะเลฝั่งอ่าวไทย ชนิดสัตว์น้ำ เขต 3 ไมล์ทะเล เขต 10 ไมล์ทะเล ขนาดเฉลี่ย (ซม.) %<Lm ปลาทรายแดงโม่ง 15.13 75 18.82 59.09 ปลาตาหวาน 7.05 99.71 7.89 96.32 ปลาปากคม 10.60 99.25 13.58 98.45 ปากคมหางจุด 10.96 100 10.99 98.20 ปลาสีกุนทอง 10.5 14.54 ปลาหลังเขียว 12.16 13.75 ปลาทู 12.02 14.95 หมึกกล้วย 9.92 38.73 10.76 27.29

เปรียบเทียบขนาดและสัดส่วนขนาดสัตว์น้ำ ระหว่างเขต 3 ไมล์ทะเลกับ 10 ไมล์ทะเลฝั่งทะเลอันดามัน ชนิดสัตว์น้ำ เขต 3 ไมล์ทะเล เขต 10 ไมล์ทะเล ขนาดเฉลี่ย (ซม.) %<Lm ปลาทู 14.10 91.60 15.90 53.09 ปลาลัง 7.10 98.18 7.80 96.87 ปลาปากคมหางจุด 13.40 95.45 15.30 72.81 ปลาปากคม 15.60 68.15 29.1 6.45 ปลาทรายขาว 12.40 94.16 16.80 68.75 ปลาแพะเหลือง 10.80 97.00 57.80 หมึกกล้วย 10.60 64.73 14.60 8.22

เครื่องมือ ปี 2546*   ปี 2550 อ่าวไทย อันดามัน รวมทั้งหมด อวนลาก 6,793 1,173 7,966 3,679 684 4,363 อวนล้อมจับ 1,105 480 1,585 978 212 1,190 อวนรุน 2,543 478 3,021 428 3 431 อวนติดตา 15,536 10,563 26,099 1,321 85 1,406 อวนช้อน อวนยก 852 287 1,139 277 - อวนครอบ 4,376 501 4,877 2,870 230 3,100 ลอบ 4,321 4,928 9,249 คราด 555 15 570 อื่นๆ 4,796 2,981 7,777 1,842 447 2,289 40,877 21,406 62,283 11,395 1,661 13,056