Sukunya munjit..detudom.  เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผล กลางระดับ Intel Pentium 800 MHz หรือ สูงกว่า  ระบบปฏิบัติการ Windows 2000 หรือสูง กว่า.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Funny with Action Script
Advertisements

การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8
HTML Language ภาษา HTML คืออะไร ? HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนา web page เพื่อให้โปรแกรม web brower ต่างๆ (Internet Explorer,
สื่อคุณค่าพระวรสาร กราฟิกเบื้องต้น วิชาคอมพิวเตอร์ ม.1.
Microsoft Office PowerPoint 2003
วิชาสื่อ ประสม ง แบบทดสอบกลางภาค
การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
โดยการใช้ Layer และ Timeline
Visual Basic.
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
Chapter 4 : Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
By…Porta Boonyatearana
การพิมพ์เอกสารออกทาง เครื่องพิมพ์. การตรวจเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Print Preview เราสามารถตรวจสอบความถูกต้องของ เอกสารก่อนสั่งพิมพ์โดยใช้คำสั่ง Print Preview.
การตกแต่งสไลด์ 11 กรกฎาคม 2550.
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
บทที่ 9 การใส่รูปภาพ (Image).
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
เริ่มต้น Photoshop CS5.
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
บทที 1 เริ่มต้น Windows XP
โปรแกรม DeskTopAuthor
แบบทดสอบ Photoshop.
โปรแกรม SwishMAX.
วาดภาพสวยด้วย Paint.
การ Generate ตารางข้อมูลให้เป็นแผนที่โดยใช้ ArcView
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เบื้องต้น
CHAPTER 6 Macromedia Dreamweaver MX 8.
การใช้โปรแกรม ACDSee สร้าง Flash อย่างง่ายๆ
การพิมพ์งานออกทางเครื่องพิมพ์
การแต่งรูปภาพด้วยโปรแกรม
Principle of Graphic Design
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
วาดเส้นและรูปทรงต่าง ๆ วาดเส้นและรูปทรงต่าง ๆ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
Symbol & Instance.
การพิมพ์และถ่ายเอกสาร ระบบออนไลน์ การพิมพ์และถ่ายเอกสาร ระบบออนไลน์
ประเภทของแอนิเมชั่นใน Flash
บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Flash
พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม Flash CS3
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ Microsoft Visual C#
การเพิ่มลูกเล่นให้กับเว็บเพจ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วย
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
กิจกรรมคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS3.
การใช้โปรแกรม powerpoint
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
หน่วยที่ 8 การตกแต่งภาพถ่าย
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Symbol ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ครูผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร.
เริ่มต้น Photoshop CS5.
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
คุณสมบัติของไฟล์วิดีโอ
การพิมพ์ตารางออกทางเครื่องพิมพ์
โรงเรียนขัติยะวงษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27
1. เปิดเอกสาร Flash เลือกเมนู File -> New แล้วเลือก Flash File (ActionScript 2.0) 2. ไปที่เมนู Insert -> New Symbol 3. ที่หน้าต่าง Create New Symbol -
Macromedia flash 8.
Macromedia Flash 8 สุรีย์ นามบุตร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Sukunya munjit..detudom

 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผล กลางระดับ Intel Pentium 800 MHz หรือ สูงกว่า  ระบบปฏิบัติการ Windows 2000 หรือสูง กว่า  หน่วยความจำ (RAM) อย่างต่ำ 256 MB ( แนะนำให้ใช้ 1 GB)  เนื้อที่ของฮาร์ดดิสก์อย่างน้อย 710 MB จอภาพสีที่ความละเอียด 1024 x 768 pixels

 พื้นที่นอกสเตจที่เรียกว่า Pasteboard เป็นส่วนที่เราใช้เป็นที่พักชั่วคราวใน การวางออบเจ็กต์ที่เราไม่ต้องการให้ แสดงบนสเตจ เมื่อเราทดสอบผลงาน ในเวอร์ชั่นเก่าจะแสดงให้เห็นทั้งหมด แต่งานที่สร้างจาก flash 8 ได้ปิด การแสดงผลตรงนี้ไป เพื่อให้เห็นเฉพาะ ส่วนงานจริงบนสเตจเท่านั้น

รูปแบบเดิม ภาพวาดแบบปกติที่นำมาซ้อนกัน หลังจาก แยกภาพออกจากนั้น ภาพที่ถูกซ้อนทับจะหายไป รูปแบบใหม่ใน Flash 8 ภาพวาดที่เป็นออบเจ็กต์ที่นำมาซ้อน กัน หลังจากแยกภาพออกจะไม่มีส่วนใดของ ภาพที่หายไป

 Flash Document ไฟล์รูปแบบปกติ ที่ใช้สร้างงาน แอนนิเมชันทั่วไป  Flash Slide Presentation ไฟล์งานที่เหมาะกับการ สร้างงานนำเสนอ  Flash Form Application ใช้สร้างฟอร์มสำหรับทำ เป็นโปรแกรมใช้งานทั่วไป  ActionScript File เป็นหน้าต่างที่ไว้เขียนสคริปต์ เพียงอย่างเดียว  ActionScript Communication File เขียนไฟล์เพื่อ ติดต่อกับเชิร์ฟเวอร์  Flash JavaScript File เหมาะสำหรับงานเขียน สคริปต์ที่ทำงานร่วมกับ JavaScript หรือ API  Flash Project เป็นการรวมกลุ่มงานที่สร้างทั้งหมด ให้ออกมาเป็น Project ไฟล์

*.fla คือไฟล์ที่เกิดจากการบันทึก ชิ้นงานใน Flash ซึ่งสามารถแก้ไขชิ้นงานได้ *.swf คือไฟล์สำหรับการนำไปเผยแพร่ หมายเหตุ : เมื่อมีการ Publish เพื่อ เผยแพร่งานทางเว็บ จะได้ไฟล์ที่มีนามสกุล *.html เพิ่ม ขึ้นมาด้วย เพื่อแสดงภาพเคลื่อนไหว ผ่านเว็บ

 เลือกเมนู File  เลือกคำสั่ง Publish หรือกดปุ่ม Shift + F12

 Title : ชื่อของชิ้นงาน  Description : รายละเอียดเกี่ยวกับชิ้นงาน  Dimensions : กำหนดขนาดของสเตจโดยระบุค่า ความกว้างและความสูง  Match : กำหนดขนาดของสเตจ โดย ◦ Printer ให้สเตจเท่ากับพื้นที่ใหญ่ที่สุดที่ สามารถพิมพ์ได้ ◦ Contents ให้พื้นที่การทำงานโดยรอบสเตจมี ขนาดเท่ากัน ◦ Default ปรับสเตจให้มีค่ามาตรฐานคือ 550*400 พิกเซล  Background color : กำหนดสีพื้น  Frame Rate กำหนดอัตราเร็วใน การแสดงภาพเคลื่อนไหว ( มาตรฐานที่ใช้ 12 fps)  Ruler Units เลือกหน่วยวัดของไม้บรรทัด

 Bitmap เป็นภาพที่เกิดจากเม็ดสีหรือจุดสี (pixel) มาเรียงกันเป็นภาพ ภาพประเภทนี้สามารถแสดง รายละเอียดได้ใกล้เคียงภาพจริง เช่น ภาพถ่ายที่มี ความละเอียดสูง แต่ภาพเหล่านี้จะมีขนาดใหญ่ และ เมื่อนำมาขยายจะทำให้ได้ภาพที่ไม่ชัด  Vector ภาพนี้จะใช้การคำนวณทางคณิตศาสตร์มา ช่วยในการสร้างเส้นและลวดลายต่างๆ เหมาะสำหรับ ภาพกราฟิกที่มีสีค่อนข้างต่อเนื่อง แต่สามารถ ปรับแต่งขนาดได้โดยมีมีผลต่อความละเอียดของ ภาพ

 เปิดโปรแกรม สร้างไฟล์ชิ้นแรก  เลือก Flash Document  สร้างวัตถุง่ายๆ เช่น เลือกปุ่มการทำงานแบบ สำเร็จรูปที่เครื่องเตรียมไว้ โดยไปที่ Window > Common Libraries > Buttons แล้วเลือกปุ่ม ตามต้องการ  นำวัตถุมาสร้างภาพเคลื่อนไหว  บันทึกการใช้งาน  แปลงไฟล์ชิ้นงานสำหรับเผยแพร่

1. การวาดเส้นตรงให้เราเลือกเครื่องมือ Line Tool หรือกดคีย์บอร์ด ตัว N 2. ลองลากเส้นต่อกันดังรูป 3. กรณีที่เส้น สองเส้นไม่ต่อกันดังรูปที่ ผ่านมา ให้เราเลือกที่เครื่องมือ Snap to Object 4. ลองวาดเส้นใหม่อีกครั้ง เส้นที่วาด ใกล้กันจะต่อติดกันพอดี 5. เมื่อได้เส้นมาแล้ว เราสามารถ ปรับแต่งเส้นได้ โดยให้เราเลือก เครื่องมือ Selection tool ก่อน หรือ กดคีย์บอร์ดตัว V ดังภาพ

FrameTimeline

 Frame เป็นส่วนประกอบของ Timeline ประกอบด้วย Frame ที่ต่อเนื่องกันหลาย ๆ Frame เมื่อมีการแสดง ภาพเคลื่อนไหวโปรแกรมจะนำวัตถุ (Instance) ที่อยู่บน เวที (Stage) มาแสดงผลทีละ Frame ในส่วนของ ความเร็วในการแสดงผลมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับการ กำหนดคุณสมบัติ Movie Properties ที่ Frame Rate มีหน่วยเป็น Frame per Second (fps) ปกติจะใช้อยู่ที่ 12 fps

1. ในกรณีที่ยังไม่มีการกำหนดใช้ งาน Frame บน Timeline จะ ปรากฏช่องของแต่ละ Frame อย่างชัดเจน Playhead จะไม่ เคลื่อนที่ 2. การกำหนดใช้งาน Frame บน Timeline จะปรากฏเป็นแถบสี ขาวเท่ากับจำนวน Frame ที่ กำหนด Playhead จะเคลื่อนที่ จนถึง Frame สุดท้าย 3. Keyframe มีสัญลักษณ์เป็นจุดสี ดำอยู่กลาง Frame เป็นตำแหน่ง ที่มีวัตถุบนพื้นที่ทำงานหรือมีการ เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนไหว ต่อเนื่องไปจน ถึง Frame สุดท้ายของ Keyframe นั้น มี สัญลักษณ์เป็นรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ภายใน Frame

 Action frame มี สัญลักษณ์เป็นรูป a อยู่กลาง Frame เป็น ตำแหน่งที่มีคำสั่ง Action ประกอบอยู่ภายใน Frame นั้น  Motion-tweened keyframes มีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกศรสี ดำ อยู่ระหว่างจุด 2 จุด บนพื้น สีฟ้าอ่อน  Shape-tweened keyframes มีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกศรสี ดำ อยู่ระหว่างจุด 2 จุด บนพื้น สีเขียวอ่อน