ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การประชุมชี้แจงและกำหนด KPIs ระดับภาควิชา/หน่วยงานจัดการเรียนการสอน
สายวิชาการ 58 คน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2553 จำนวนคน.
วันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม 2549
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
“ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และการประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 31 พฤษภาคม 2552.
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
เกณฑ์ (gain!?!)หมวด 7.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร

1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การศึกษาภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
CMU: UNIVERSITY OF EXCELLENCE
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
หลัก สูตร คณะ สถาบั น 2 บัณฑิต 3 นักศึกษา 4 อาจารย์องค์ประกอบ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 การผลิตบัณฑิต 2.
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล ระยะที่ 3 ปีงบประมาณ 2554

1.2 การบริหารเชิงกลยุทธ์ 1.3 ทรัพยากรบุคคล 1.4 การจัดการความรู้ 5 มาตรฐาน 22 องค์ประกอบ ด้านการบริหาร 1.1 ภาวะผู้นำ 1.2 การบริหารเชิงกลยุทธ์ 1.3 ทรัพยากรบุคคล 1.4 การจัดการความรู้ 1.5 ระบบคุณภาพ 1.6 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1.7 การประชาสัมพันธ์ 1.8 การเงินและงบประมาณ 1.9 การบริหารความเสี่ยงและการเปลี่ยนแปลง ด้านการศึกษา 2.1 ระบบและกลไก 2.2 หลักสูตร 2.3 กระบวนการเรียนการสอนและการประเมินผล 2.4 นักศึกษา 2.5 ปัจจัยเกื้อหนุน 2.6 บัณฑิต / ผู้สำเร็จการศึกษา ด้านการวิจัย 3.1 ระบบและกลไก 3.2 ผลงานวิจัย ด้านการบริการวิชาการ 4.1 ระบบและกลไก 4.2 ผู้รับบริการ 4.3 บริการ / ผลิตภัณฑ์ ด้านการทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม 5.1 ระบบและกลไก 5.2 การดำเนินการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม

เกณฑ์การให้คะแนนตามมาตรฐานคุณภาพ MUQD ระยะที่ 1 : ปีงบประมาณ 2548 5 มาตรฐาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนนตามมาตรฐานคุณภาพ 1 เริ่มมีแผน/นโยบาย หรืออยู่ในระยะเริ่มต้นของการดำเนินการ 2 มีการสื่อสารและถ่ายทอดแผน/นโยบาย/การดำเนินการ เพื่อการรับรู้ 3 มีการดำเนินการในบางหน่วยงาน 4 มีการดำเนินการในหน่วยงานส่วนใหญ่ 5 มีการประเมินผลการดำเนินการ 6 มีการนำผลการประเมิน มาปรับปรุงการดำเนินการ 7 มีผลลัพธ์ของการดำเนินการนั้น ที่ดีเยี่ยม ใช้เป็นต้นแบบให้แก่หน่วยงานอื่นๆ

MUQD ระยะที่ 2 : ปีงบประมาณ 2549 5 มาตรฐาน คะแนน แนวทางการให้คะแนนในส่วนของกระบวนการ (Process) 1 เริ่มมีแผนหรือแนวทางในการดำเนินการ (Plan) 2 มีการดำเนินการตามแผนอย่างเป็นรูปธรรม (Do) 3 มีการประเมินผลการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ (Check) 4 นำผลการดำเนินงานมาจัดทำมาตรฐานที่ปฏิบัติได้อย่างสม่ำเสมอ (Act) 5 มีการปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement) 6 มีการพัฒนางานจนเกิดรูปแบบการทำงานแนวใหม่ หรือนวัตกรรม (BT/Innovation) 7 มีการดำเนินงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) คะแนน แนวทางการให้คะแนนในส่วนของผลลัพธ์ (Results) 1 ไม่มีการรายงานผลลัพธ์ หรือผลลัพธ์ไม่ตรงกับแผนงาน (No/Inaccurate) 2 มีการรายงานผลลัพธ์หรือเครื่องชี้วัดที่ตรงกับแผนงาน (Yes) 3 ผลลัพธ์ของการดำเนินงานเป็นไป/ดีกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ (On/Above Target) 4 การติดตามผลต่อเนื่องแสดงแนวโน้มของผลลัพธ์ที่ดีขึ้น (Upward Trend) 5 มีการนำผลลัพธ์ที่ดีขึ้นต่อเนื่องนั้นไปเปรียบเทียบกับคู่แข่ง (Benchmark) 6 ผลลัพธ์จากการเทียบเคียงสมรรถนะอยู่ในระดับที่ดีมาก (Very Good) 7 ผลลัพธ์จากการเทียบเคียงสมรรถนะอยู่ในระดับที่ดีเยี่ยม (Excellent)

MUQD ระยะที่ 3 : ปีงบประมาณ 2551 5 มาตรฐาน คะแนน แนวทางการให้คะแนนในส่วนของกระบวนการ (Process) 1 เริ่มมีแผนหรือแนวทางในการดำเนินการ (Plan) 2 มีการดำเนินการตามแผนอย่างเป็นรูปธรรม (Do) 3 มีการประเมินผลการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ (Check) 4 นำผลการดำเนินงานมาจัดทำมาตรฐานที่ปฏิบัติได้อย่างสม่ำเสมอ (Act) 5 มีการปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement) 6 มีการพัฒนางานจนเกิดรูปแบบการทำงานแนวใหม่ หรือนวัตกรรม (BT/Innovation) 7 มีการดำเนินงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) คะแนน แนวทางการให้คะแนนในส่วนของผลลัพธ์ (Results) 1 ไม่มีการรายงานผลลัพธ์ /ผลลัพธ์ไม่ตรงกับแผนงานและเป้าหมาย (No/Inaccurate) 2 มีการรายงานผลลัพธ์หรือเครื่องชี้วัดที่ตรงกับแผนงานและเป้าหมาย (On Target) 3 ผลลัพธ์ของการดำเนินงานดีกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ (Above Target) 4 การติดตามผลต่อเนื่องแสดงแนวโน้มของผลลัพธ์ที่ดีขึ้น (Upward Trend) 5 มีการนำผลลัพธ์ที่ดีขึ้นไปเทียบเคียง (Benchmark) ในระดับประเทศ 6 มีการนำผลลัพธ์ที่ดีขึ้นไปเทียบเคียง (Benchmark) ในระดับภูมิภาคเอเชีย 7 มีการนำผลลัพธ์ที่ดีขึ้นไปเทียบเคียง (Benchmark) ในระดับโลก เว้น 1 ปี เริ่มระยะที่ 3 ปีที่ 1 : 2551 => เพิ่มคำอธิบายเป็นแนวทางการเขียนรายงาน ตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้อง = สมศ & สกอ (และมีแบบกรอกข้อมูลพื้นฐานให้ใส่ในส่วนท้าย :Common Data Set), ทุกองค์ประกอบ ประเมินทั้ง P & R

MUQD ระยะที่ 3 : ปีงบประมาณ 2552, 2553 5 มาตรฐาน คะแนน แนวทางการให้คะแนนในส่วนของกระบวนการ (Process) 1 เริ่มมีแผนหรือแนวทางในการดำเนินการ (Plan) 2 มีการดำเนินการตามแผนอย่างเป็นรูปธรรม (Do) 3 มีการประเมินผลการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ (Check) 4 นำผลการดำเนินงานมาปรับปรุง/พัฒนามาตรฐานที่ปฏิบัติ (Act) 5 มีการปรับปรุงการดำเนินงานจนเกิดการหมุนของวงจร PDCA อย่างต่อเนื่อง (CQI) 6 มีการพัฒนางานจนเกิดรูปแบบการทำงานแนวใหม่ หรือนวัตกรรม (BT/Innovation) 7 มีการดำเนินงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) คะแนน แนวทางการให้คะแนนในส่วนของผลลัพธ์ (Results) 1 ไม่มีการรายงาน/ผลลัพธ์ไม่ตรงกับแผนงาน/เป้าหมาย (No/Inaccurate/Below T) 2 มีการรายงานผลลัพธ์หรือเครื่องชี้วัดที่ตรงกับแผนงานและเป้าหมาย (On Target) 3 ผลลัพธ์ของการดำเนินงานดีกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ (Above Target) 4 การติดตามผลต่อเนื่องแสดงแนวโน้มของผลลัพธ์ที่ดีขึ้น (Upward Trend) 5 มีการนำผลลัพธ์ที่ดีขึ้นไปเทียบเคียง (Benchmark) ในระดับประเทศ 6 มีการนำผลลัพธ์ที่ดีขึ้นไปเทียบเคียง (Benchmark) ในระดับภูมิภาคเอเชีย 7 มีการนำผลลัพธ์ที่ดีขึ้นไปเทียบเคียง (Benchmark) ในระดับโลก ระยะที่ 3 ปีที่ 2 : 2552 => จำแนกองค์ประกอบ ว่าองค์ใด ประเมิน P, R หรือทั้ง P & R

มาตรฐาน และองค์ประกอบคุณภาพ ในระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล ระยะที่ 3 ปีงบประมาณ 2552 & 2553 5 มาตรฐาน 22 องค์ประกอบ P R ส่วนงานที่รับการประเมิน ด้านการบริหาร 1.1 ภาวะผู้นำ ทุกส่วนงาน (35 ส่วนงาน) 1.2 การบริหารเชิงกลยุทธ์ 1.3 ทรัพยากรบุคคล 1.4 การจัดการความรู้ 1.5 ระบบคุณภาพ 1.6 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1.7 การประชาสัมพันธ์ 1.8 การเงินและงบประมาณ 1.9 การบริหารความเสี่ยงและการเปลี่ยนแปลง ด้านการศึกษา 2.1 ระบบและกลไก ส่วนงานที่มีพันธกิจ การจัดการเรียนการสอน / ผลิตบัณฑิต และการวิจัย 30 ส่วนงาน ได้แก่ HSc 12 ส่วนงาน ScTech 8 ส่วนงาน HS 10 ส่วนงาน 2.2 หลักสูตร 2.3 กระบวนการเรียนการสอนและการประเมินผล 2.4 นักศึกษา 2.5 ปัจจัยเกื้อหนุน 2.6 บัณฑิต / ผู้สำเร็จการศึกษา ด้านการวิจัย 3.1 ระบบและกลไก 30+3 ส่วนงานสนับสนุน ( AC, DC, GR ) 3.2 ผลงานวิจัย ด้านการบริการวิชาการ 4.1 ระบบและกลไก 30+ 4 ส่วนงานสนับสนุน ( AC, DC, GR, LI ) 4.2 ผู้รับบริการ 4.3 บริการ / ผลิตภัณฑ์ ด้านการทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม 5.1 ระบบและกลไก 5.2 การดำเนินการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม

ผลการประเมินคุณภาพในระบบ MUQD ระยะที่ 3 ปีงบประมาณ 2551-2553 ผลการตรวจประเมินภายในตามระบบคุณภาพระยะที่ 3 ปีงบประมาณ 2553 ผลการตรวจประเมินภายในตามระบบคุณภาพระยะที่ 3 ปีงบประมาณ 2551-2553

P D C A Performance Process Results ปรับประเด็นสาระของระบบคุณภาพ : 2554 Evidence ? Monitoring/ Process Indicators Process P D C A Results Performance Performance Indicators Mahidol Core Values Management by Fact Integrity

มาตรฐาน และองค์ประกอบคุณภาพ ในระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล ระยะที่ 3 ปีงบประมาณ 2554 5 มาตรฐาน 22 องค์ประกอบ P R ส่วนงานที่รับการประเมิน ด้านการบริหาร 1.1 ภาวะผู้นำ ทุกส่วนงาน (35 ส่วนงาน) 1.2 การบริหารเชิงกลยุทธ์ 1.3 ทรัพยากรบุคคล 1.4 การจัดการความรู้ 1.5 ระบบคุณภาพ 1.6 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1.7 การประชาสัมพันธ์ 1.8 การเงินและงบประมาณ 1.9 การบริหารความเสี่ยงและการเปลี่ยนแปลง ด้านการศึกษา 2.1 ระบบและกลไก ส่วนงานที่มีพันธกิจ การจัดการเรียนการสอน / ผลิตบัณฑิต และการวิจัย 30 ส่วนงาน ได้แก่ HSc 12 ส่วนงาน ScTech 8 ส่วนงาน HS 10 ส่วนงาน 2.2 หลักสูตร 2.3 กระบวนการเรียนการสอนและการประเมินผล 2.4 นักศึกษา 2.5 ปัจจัยเกื้อหนุน 2.6 บัณฑิต / ผู้สำเร็จการศึกษา ด้านการวิจัย 3.1 ระบบและกลไก 30+3 ส่วนงานสนับสนุน ( AC, DC, GR ) 3.2 ผลงานวิจัย ด้านการบริการวิชาการ 4.1 ระบบและกลไก 30+ 4 ส่วนงานสนับสนุน ( AC, DC, GR, LI ) 4.2 ผู้รับบริการ 4.3 บริการ / ผลิตภัณฑ์ ด้านการทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม 5.1 ระบบและกลไก 5.2 การดำเนินการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม Ld PI PI Ld PI PI LdPI PI Ld PI PI LdPI PI

ด้านการบริหาร 1. ผลการประเมินความสำเร็จของการบริหารส่วนงาน 2. ร้อยละของ Corporate KPI ที่บรรลุตามเป้าหมายหรือมีผลลัพธ์ ที่ดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา 3. ผลการประเมินความผูกพัน ความพึงพอใจ และไม่พึงพอใจของบุคลากร 4. การพัฒนาคณาจารย์ (สมศ.14) 5. ร้อยละของคณาจารย์ที่ได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะทั้งด้านวิชาการ และวิชาชีพทั้งในประเทศและต่างประเทศ 6. ร้อยละของบุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะใน วิชาชีพ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ 7. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านต่างๆ ที่ส่วนงานจัดให้ 8. ระดับความสำเร็จด้านการจัดสรรงบประมาณตามพันธกิจ และสอดคล้อง กับกลยุทธ์ที่เน้น [9. ระดับความสำเร็จของการกำกับ ติดตามการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผน]

ด้านการศึกษา 1. อัตราการสำเร็จการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาตรีตามรอบเวลาที่กำหนด 2. อัตราการสำเร็จการศึกษาของบัณฑิตปริญญาโทในเวลาที่กำหนด (ภายใน 3 ปี) 3. อัตราการสำเร็จการศึกษาของบัณฑิตปริญญาเอกในเวลาที่กำหนด (ภายใน 5 ปี) 4. อัตราการสอบผ่านใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในการสอบครั้งแรกของบัณฑิต ป.ตรี 5. อัตราการได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเมื่อจบการศึกษา (พ.บ.) 6. ร้อยละของบัณฑิต ป.ตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี (สมศ. 1) 7. ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ป.โทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (สมศ. 3) 8. ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ป.เอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (สมศ. 4) 9. ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์ (สมศ. 16.2) 10. ผลงานพัฒนาและวิจัยการศึกษาทุกรูปแบบ 11. ระดับความพึงพอใจของ นศ. ต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์และ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 12. ความผูกพันของศิษย์เก่า 13 -15 ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณภาพบัณฑิต (สมศ.2 : คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี) : ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก

ด้านการวิจัย สัดส่วนของผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ต่อจำนวนบุคลากรสายวิชาการ 2. สัดส่วนของผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ ต่อจำนวนบุคลากร สายวิชาการ 3. งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (สมศ. 5) 4. งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ (สมศ. 6) 5. จำนวนครั้งที่บทความได้รับการอ้างอิง (Citation) ใน Peer-reviewed Journals/ Refereed Journals หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับ นานาชาติต่อจำนวนบทความทั้งหมด 6. จำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนบทความวิจัยที่ตีพิมพ์ ระดับชาติหรือระดับนานาชาติ

ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ด้านบริการวิชาการ 1. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการหลักของส่วนงาน 2. เงินรายได้ที่เกิดจากการรับจ้างวิจัยและการรับเป็นที่ปรึกษาโครงการ ต่อบุคลากรสายวิชาการประจำ 3. ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ (สมศ. 7) 4. ผลการนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ ในการพัฒนาการเรียนการสอนและ การวิจัย (สมศ. 8) 5. ผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก (สมศ. 9) ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 1. ผลลัพธ์การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม (สมศ.10) 2. ผลลัพธ์การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม (สมศ.11)

KPI Dictionary ความหมาย องค์ประกอบ Results : Performance Indicators 1. ชื่อตัวชี้วัด 2. วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่ตัวชี้วัดอยู่ภายใต้ 3. วัตถุประสงค์ของการมีตัวชี้วัดตัวนี้ 4. ความหมายของตัวชี้วัด 5. สูตรในการคำนวณตัวชี้วัด 6. ข้อมูลที่ต้องการ 7. หน่วยงานผู้รับผิดชอบข้อมูลตัวชี้วัด 8. หน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบจัดเก็บข้อมูลสนับสนุน 9. ความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล 10. หน่วยวัดของตัวชี้วัด 11.วิธีวิเคราะห์ข้อมูลตัวชี้วัด 12.ผู้วิเคราะห์/รายงานผลข้อมูลตัวชี้วัด 13. รอบระยะเวลาในการนำเสนอ/ทบทวนผล 14. ผู้รับผิดชอบในการบรรลุเป้าหมาย 15. ผู้รับผิดชอบในการกำหนดเป้าหมาย 16. ข้อมูลในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา 17. เป้าหมายในอีก 3 ปีต่อไป 18. Benchmark