แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
การจัดทำโครงการเฉลิมพระเกียรติ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
แนวทางการบูรณาการ อพม.กับโครงการพัฒนาตำบลต้นแบบ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ปัญหาสำคัญ / ทางออกสำหรับ เด็ก ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๓. วัตถุประสงค์ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเด็กของ จังหวัดแบบบูรณาการ เพื่อเสนอโครงการพัฒนาเด็กตาม ความต้องการของจังหวัด.
“นโยบายและการบริการภาครัฐสำหรับผู้สูงอายุ”
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
รายงานการฝึกอบรมโครงการ “ผู้นำเยาวชนคนพิการ พลิกฟื้นชุมชน สู่การพัฒนา”
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
๓. ด้านการจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ผลการดำเนินงาน แม่บ้านสาธารณสุข
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
การส่งเสริมครอบครัวแข็งแรงเพื่อเป็นฐานของสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2557.
โครงการพัฒนารูปแบบบริการระยะยาว
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
Evaluation of Thailand Master Plan
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
ระบบสุขภาพชุมชน : คุณค่า และความดีงาม ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ มหกรรมกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย “การเตรียมความพร้อม สู่สังคมผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ” โดยการจัดตั้ง ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ

แนวคิดในการจัดตั้งศูนย์ฯ “ ร่วมแรง ร่วมใจ ผู้สูงวัย กายใจเบิกบาน” แนวคิดในการจัดตั้งศูนย์ฯ “ ร่วมแรง ร่วมใจ ผู้สูงวัย กายใจเบิกบาน” วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งศูนย์ฯ ๑. เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมสำหรับผู้สูงอายุ ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีสถานที่ ในการจัดกิจกรรมและบริการ ๓. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับ การพัฒนาด้านสุขภาพกาย จิตใจ และสังคม ๔. เพื่อเป็นศูนย์ส่งเสริมอาชีพ และการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุในชุมชน ๕. เพื่อเป็นศูนย์ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ๖. เป็นศูนย์ข้อมูลผู้สูงอายุในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย แบ่งเป็น ๒ กลุ่ม ได้แก่ ๑. กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนและพื้นที่ ให้บริการศูนย์ฯ รวมไปถึงสมาชิกครอบครัวของผู้สูงอายุและผู้ดูแล ๒. กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ สมาชิกทุกวัยในชุมชน และสมาชิก กลุ่มองค์กรต่างๆ

กลุ่มเป้าหมายในการดำเนินความพร้อม กลไกการดำเนินงาน

ประโยชน์จากการจัดตั้งศูนย์ฯ สำหรับผู้สูงอายุ ทำให้คลายเหงา เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ใช้เวลาอย่างเกิดประโยชน์ ได้รับการเสริมสร้างภาวะทางร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา เกิดความตระหนักต่อคุณค่าและศักยภาพของตนเอง ได้ถ่ายทอดความรู้และภูมิปัญญาให้สืบทอดต่อไปในชุมชน ได้ฝึกฝนเรียนรู้ทักษะทางด้านอาชีพ ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ประโยชน์จากการจัดตั้งศูนย์ฯ สำหรับ อปท. เป็นการยกระดับและพัฒนารูปแบบการจัดบริการและสวัสดิการสังคม เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้เกิดการระดมทรัพยากร และความร่วมมือจากหน่วยงาน ทั้งภายในและภายนอกให้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมและบริการ สำหรับผู้สูงอายุและเชื่อมโยงคนทุกวัยให้ได้รับประโยชน์จากการ ดำเนินงานศูนย์ฯ

การติดตามและรายงานผล สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดติดตามและรายงายผลการดำเนินงานให้ส่วนกลาง รายไตรมาส และรายงานตามหลักเกณฑ์กองทุนผู้สูงอายุ