โครงการ การพัฒนาศักยภาพ บุคลากรด้านการปราบปราม
สินค้า เครื่องดื่ม เป็นสินค้าที่กรมสรรพสามิต บริหารจัดเก็บภาษีโดยอาศัย อำนาจตามพระราชบัญญัติพิกัด อัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 ประเภทที่ 02
1. น้ำหรือน้ำแร่โดยธรรมชาติ 1. นิยามของสินค้า 1. น้ำหรือน้ำแร่โดยธรรมชาติ 2. น้ำกลั่นหรือน้ำกรองสำหรับดื่มโดยไม่ปรุงแต่ง 3. เครื่องดื่มซึ่งผู้ผลิตได้ผลิตขึ้นเพื่อขายปลีกเองโดยเฉพาะอัน มิได้มีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อยู่ด้วยทั้งมิได้สงวนคุณภาพ ด้วยเครื่องเคมี 4. น้ำนมจืด น้ำนมอื่นๆ ไม่ว่าจะปรุงแต่งหรือไม่/ทั้งนี้ตามารฐาน ที่กำหนด 5. เครื่องดื่มตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา
2. ปัจจุบันมีเครื่องดื่มที่เสียภาษี 3 ชนิด คือ 1. โซดา อัตราภาษี 25% (มูลค่า) 0.77 บาท/440 CC. (ภาชนะ) ปริมาณ 2. เครื่องดื่มโดยทั่วไป 20% (มูลค่า) 0.37 บาท/440 CC. (ภาชนะ) ปริมาณ 3. น้ำผลไม้
น้ำผลไม้ แบ่งออกเป็น 2. น้ำผลไม้ที่มีส่วนผสมตามที่กรมฯกำหนด ยกเว้นภาษี 1. น้ำผลไม้ทั่วไป อัตราภาษี 20% (มูลค่า) 0.37/440 CC. ภาชนะ)ปริมาณ 2. น้ำผลไม้ที่มีส่วนผสมตามที่กรมฯกำหนด ยกเว้นภาษี
3. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 ได้แก่ 1. ผู้ประกอบการ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 2.1 ผู้ประกอบอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม 2.2 ผู้นำเข้า 2.3 ผู้อื่น เช่น ผู้กระทำผิดตามมาตรา 161,162 ตามพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527
หน้าที่ของผู้เสียภาษีของตัวสินค้า 1. ให้ผู้ประกอบอุตสาหกรรม ผู้นำเข้า มีหน้าที่เสียภาษีตามมูลค่าหรือปริมาณของสินค้า ม.7 (ภษ.27) 2. ผู้กระทำผิดตามมาตรา 161,162 มีหน้าที่เสียภาษีให้ครบถ้วน ตามมาตรา 163 (ภษ.27)
4. วิธีการควบคุมการจัดการจัดเก็บภาษี 1. แสตมป์เครื่องดื่ม 2. ฝาจุก จีบ เช่นโซดา ,น้ำอัดลม สิ่งผนึกภาชนะ จด ทะเบียน,เครื่องหมายแสดงการเสีย ภาษี 3. เครื่องขาย เครื่องดื่ม ยื่น ชำระภาษีภายใน วันที่ 15 ของ เดือนถัดที่มีชำระภาษี
5. วิธีการตรวจสอบสินค้าเครื่องดื่ม ที่ต้องจดทะเบียน/กระทำผิด 1. สินค้าเครื่องดื่มที่ต้องจดทะเบียน 2. สินค้าเครื่องดื่มที่ได้รับยกเว้นภาษี หรือไม่ต้องจดทะเบียน 3. การดำเนินการตรวจสอบสินค้าที่มิได้ เสียภาษี
สินค้า แบตเตอรี่ สินค้าตามพิกัดฯ ประเภท 08.90(4) 1. นิยาม แบตเตอรี่ คือ อุปกรณ์ที่บรรจุพลังงานเคมีแล้วจ่ายเป็นพลังงานไฟฟ้ากระแสตรงออกไปใช้งานประเภทของแบตเตอรี่ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1.1 แบตเตอรี่แห้ง (Dry Cell) 1.2 แบตเตอรี่น้ำ (Storage Bettery)
2. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกฎหมายภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 - ผู้ประกอบอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ ต้องจดทะเบียน - ผู้นำเข้าแบตเตอรี่ (หม้อสะสมไฟฟ้า) กรมศุลกากร เก็บแทนกรมสรรพสามิต ผู้ประกอบอุตสาหกรรมใน ประเทศไม่มี
3. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี - ผู้นำเข้า เสียภาษีด่านศุลกากร - ผู้ประกอบอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ - ผู้นำเข้า เสียภาษีด่านศุลกากร - ผู้อื่น เช่น ผู้กระทำผิดตามมาตรา 161,162 (ภษ.27)
4. ผู้เสียภาษีมีหน้าที่ - ผู้ประกอบอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ ผู้นำเข้า มี หน้าที่เสียภาษีตามมูลค่า - ผู้กระทำผิดตามมาตรา 161,162 มีหน้าที่เสียภาษี เอาสินค้าคืนไป
5. อัตราภาษีที่ต้องเสีย ร้อยละ 10 6. วิธีการควบคุมการเสียภาษี - ผู้ประกอบอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ ให้ยื่นชำระภาษีในเวลาที่นำสินค้าออกจากโรงอุตสาหกรรมตามมาตรา10 (ภษ.27) - สินค้านำเข้า ให้ถือว่าความรับผิดในอันจะต้องเสียภาษีเกิดขึ้นในเวลาเดียวกับความรับผิดในอันจะต้องเสียภาษีศุลกากรสำหรับของที่นำเข้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร ตามมาตรา10(3) (ภษ.27)
7. วิธีการตรวจสอบสินค้าแบตเตอรี่ว่าเสียภาษีหรือยัง - ตรวจดูว่าเป็นสินค้าแบตเตอรี่เข้าข่ายตามพิกัดฯหรือไม่ - ตรา/ยี่ห้อใครเป็นผู้ผลิต สถานที่ผลิตตรงตามที่จดทะเบียนไว้ หรือไม่ - มีเอกสารใดมาแสดงการได้มา ซื้อมาจากใคร เมื่อใด จำนวน เท่าใด ราคาเท่าไร มาแสดงหรือไม่ - ถ้าเป็นPower Bank ให้ตรวจดูใบขนสินค้าของกรมศุลกากร มี การนำเข้าโดยถูกต้อง ตรงตามตรา/ยี่ห้อ จำนวน ตรงตาม เอกสารนำเข้าหรือไม่
8. มูลค่า(ราคา) คิดคำนวณจากแบตเตอรี่มิใช่ตัว Power Bank ทั้งหมด โดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 132 (ภษ.27)