งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจับกุมน้ำมันปลอมปน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจับกุมน้ำมันปลอมปน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจับกุมน้ำมันปลอมปน
สิ่งที่ควรรู้ พรบ.การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 พรบ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

2 พรบ.การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 เหตุผลที่ออก พรบ.
เพื่อควบคุมคุณภาพน้ำมัน เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อประโยชน์แห่งความมั่นคงของประเทศ เพื่อป้องกันและแก้ไขการขาดแคลนน้ำมัน มาตราที่ควรรู้ ม.4 น้ำมันเชื้อเพลิง หมายความว่า ก๊าซปิโตรเลียมเหลว น้ำมันเบนซิน น้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องบิน น้ำมันก๊าด น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา น้ำมันหล่อลื่นและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่นที่ใช้หรืออาจใช้เป็นเชื้อเพลิงหรือสิ่งหล่อลื่น ก๊าซธรรมชาติ น้ำมันดิบ หรือสิ่งอื่นที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการกลั่นหรือผลิตเพื่อให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ดังกล่าวข้างต้น ม.7 (ผู้ค้าน้ำมันรายใหญ่) ม.10 (ผู้ค้าน้ำมันรายย่อย) ม.11 (สถานีบริการน้ำมัน) มาตราที่เกี่ยวข้องกับการกำหนด และควบคุมคุณภาพน้ำมัน ม.25 อธิบดีมีอำนาจกำหนดลักษณะ และคุณภาพของน้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อใช้บังคับทั่วราชอาณาจักร ในกรณีที่มีเหตุจำเป็นจะกำหนดให้ใช้บังคับเฉพาะแต่ท้องที่หนึ่งท้องที่ใดหรือหลายท้องที่ได้ตามที่เห็นสมควร (ม.25 ว.3) ห้ามมิให้ผู้ค้าน้ำมันจำหน่ายหรือมีไว้เพื่อจำหน่ายซึ่งน้ำมันเชื้อเพลิงที่มีลักษณะหรือคุณภาพแตกต่างจากที่อธิบดีประกาศกำหนด ม.24 ม.48 ม.49 ม.51 ม.60

3 บัญชีแนบท้าย กำหนดคุณภาพ
น้ำมันดีเซล น้ำมันเบนซิล น้ำมันแก๊สโซฮอล น้ำมันปลอมปน น้ำมันที่ออกมาจากโรงกลั่นหรือคลังน้ำมัน จะเป็นน้ำมันที่ชำระภาษีสรรพสามิตแล้ว และมีลักษณะหรือคุณภาพตามที่กรมธุรกิจพลังงานประกาศกำหนด (ตามบัญชีแนบท้ายประกาศ) ถ้าตรวจพบน้ำมันตามสถานีบริการน้ำมันที่มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามประกาศกรมธุรกิจพลังงาน ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่ามีการนำน้ำมันชนิดอื่นหรือสารเคมีอื่นมาปลอมปนลงในน้ำมัน เพื่อประโยชน์ในทางการค้าซึ่งนอกจากจะมีความผิดตาม ม.25 ว.3 แห่ง พรบ. การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ แล้ว กรณีนี้ถือว่าน้ำมันดังกล่าวเป็นสินค้าที่ผลิตขึ้นใหม่ ตาม ม.4 แห่ง พรบ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 และยังไม่ได้เสียภาษี ดังนั้น ผู้ถือครองจึงมีความผิด ตาม ม.161 (1) หรือ 162 (1) แห่ง พรบ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 พรบ.ภาษีสรรพสามิต 2527 อัตราภาษี 1.น้ำมันเบนซิล อัตราลิตรละ บาท 2.น้ำมันแก๊สโซฮอลอี อัตราลิตรละ บาท อี อัตราลิตรละ บาท อี อัตราลิตรละ บาท 3. น้ำมันดีเซล (กำมะถันเกิน กรัม) อัตราลิตรละ บาท มาตรา 4 “ผลิต” หมายความว่า มาตรา 161 (1) มาตรา 162 (1)

4 มูลเหตุจูงใจในการกระทำผิด
โครงสร้างภาษีน้ำมันตามมติคณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน หน่วย:บาท/ลิตร ULG E10,95 E10,91 E20 E 85 HSD ราคา ณ โรงกลั่น ภาษีสรรพสามิต 7.0000 6.3000 5.6000 1.0500 0.0050 ภาษีเทศบาล 0.7000 0.6300 0.5600 0.1050 0.0005 กองทุนน้ำมันฯ 3.5000 1.4000 1.3000 กองทุนอนุรักษ์ฯ 0.2500 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 2.9234 2.4645 2.3021 2.1184 1.2860 1.8638 ราคาขายส่ง ค่าการตลาด 2.0219 1.5505 1.5806 1.8678 3.2921 1.4020 ภาษีค่าการตลาด 0.1415 0.1085 0.1106 0.1307 0.2304 0.0981 ราคาขายปลีก 46.85 39.33 36.88 34.38 23.18 29.99

5 ขั้นตอนการจับกุมน้ำมัน
การสืบสวนหาข้อมูล มี 2 ช่องทาง ได้จากแหล่งข่าว ได้จากการออกหาเก็บตัวอย่างน้ำมันตามปั๊มน้ำมันต่างๆ ส่งให้กรมฯ / รถโมบายแล๊ปตรวจ ผลตรวจเป็นไปตามที่ กรมธุรกิจพลังงานกำหนด ผลตรวจไม่เป็นไปตามที่กรมธุรกิจพลังงานกำหนด ยกเลิก ขอรถโมบายแล๊ป โดยเร่งด่วน เก็บตัวอย่างซ้ำเมื่อโมบายมาถึง ผลตรวจได้มาตรฐาน ผลตรวจไม่เป็นไปตามที่กรมธุรกิจพลังงานกำหนด ยกเลิก นำรถโมบายแล๊ป เข้าตรวจที่ปั๊มน้ำมัน

6 ผลการตรวจต่อหน้าเจ้าของปั๊ม
การนำรถโมบายแล๊ปเข้าตรวจที่ปั๊มน้ำมัน มีขั้นตอนดังนี้ แสดงตัวเป็นเจ้าพนักงานสรรพสามิตเพื่อขอตรวจสอบคุณภาพน้ำมัน (เจ้าหน้าที่ควรแต่งเครื่องแบบ) เก็บตัวอย่างน้ำมันที่หัวจ่ายทุกหัวจ่ายต่อหน้าเจ้าของปั๊ม นำน้ำมันที่เก็บเข้าทำการตรวจสอบคุณภาพกับรถโมบายแล๊ปต่อหน้าเจ้าของปั๊ม ผลการตรวจต่อหน้าเจ้าของปั๊ม ถ้าได้มาตรฐาน ผลการตรวจได้ผ่านให้ดำเนินการดังนี้ อธิบายให้เจ้าของปั๊มได้รับทราบถึงผลของการตรวจว่าเป็นน้ำมันปลอมปน โดยอาจเอาน้ำมันปั๊มอื่น หรือสารเคมีอื่นมาผสม ถือว่าเป็นการผลิตสินค้าขึ้นมาใหม่ ซึ่งจะต้องเสียภาษีสรรพสามิต ผู้มีไว้ในครอบครองจะมีความผิดข้อหา มีไว้ในครอบครองซึ่งสินค้าโดยรู้ว่าเป็นสินค้าที่มิได้เสียภาษี (ม.161(1)) หรือมีไว้เพื่อขายโดยรู้ว่าเป็นสินค้าที่มิได้เสียภาษี (162(1)) จะต้องถูกดำเนินคดีโดยเสียภาษี และค่าเปรียบเทียบปรับ ยกเลิก/ขอโทษครับ/ขอบคุณครับ โอกาสหน้าจะมาบริการอีกครับ

7 ขั้นตอนการดำเนินคดี แจ้งให้ผู้ต้องหาทราบว่ามีทางเลือก 2 ช่องทาง
ช่องทางที่ 1 ถ้าผู้ต้องหายินยอมเสียค่าปรับ นำตัวผู้ต้องหาส่งพนักงานสอบสวน เพื่อลงบันทึกประจำวัน นำตัวผู้ต้องหามายังสำนักงานสรรพสามิตพื้นที่สาขาเพื่อทำการปรับเปรียบเทียบ / คดีเสร็จสิ้น ช่องทางที่ 2 ถ้าผู้ต้องหาไม่ยอมเสียค่าปรับ จะต้องนำตัวผู้ต้องหาส่งพนักงานสอบสวน เพื่อสอบสวน พร้อม 1. บันทึกการจับกุม ส.39 2. บัญชีของกลาง ส.ส2/4 3. ผลการตรวจพิสูจน์ (สสข.) 4. ใบตรวจผลแล๊ป 5. ของกลาง พร้อมซิลให้เรียบร้อยมิดชิด โดยแบ่งเป็น ส่วนที่ 1 ให้พนักงานสอบสวน ส่วนที่ 2 ให้เจ้าพนักงานสรรพสามิต ส่วนที่ 3 ให้เจ้าของปั๊มเก็บไว้ - พนักงานสอบสวนจะดำเนินการสอบสวนเพื่อส่งฟ้องศาลต่อไป


ดาวน์โหลด ppt การจับกุมน้ำมันปลอมปน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google