ASEAN University Network - Quality Assurance

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผล การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา.
โครงการวิจัย เรื่อง วิถีการดำรงชีวิต อย่างยั่งยืนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Food Security and Sustainable Livelihoods in South East Asia ตามประกาศโครงการวิจัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
การประกันคุณภาพภายนอก
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การพัฒนาครูพลศึกษาในประเทศไทย
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
“การประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
การประกันคุณภาพการศึกษา (Quality Assurance, QA)
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การออกแบบเว็บเซอร์วิสสำหรับการจัดการบริการ ของมหาวิทยาลัย A Web Service Design for University Services Management.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
แผนการดำเนินงานของทีม บริหาร ด้านการพัฒนาคุณภาพ 1.
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ โครงการเตรียมความพร้อมบุคลากรอุตสาหกรรมท่องเที่ยวตามกรอบคุณวุฒิวิชาชีพ Prior Learning Recognition (PLR)
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเนชั่น จังหวัดลำปาง
กรอบการเจรจาความตกลงด้านมาตรฐาน และการตรวจสอบและรับรอง ภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards.
การแถลงผลการประชุม เรื่อง
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
1 คณะอนุกรรมการดำเนินการสอนที่ มุ่งเน้นความรู้คู่คุณธรรม และ สอดแทรกจริยธรรม เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลางเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย สกอ. ผู้แทนสถาบันในเครือข่ายที่แม่
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
แนวทางการดำเนินงาน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียนเอกชน
70 th Anniversary of URU Goal : The University of Quality สู่ มหาวิทยาลัยคุณภาพได้มาตรฐานระดับชาติ สคน. การบรรยายพิเศษ “ นโยบายด้านการประกันคุณภาพ การศึกษา.
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
Good Practice (for Quality Improvement)
Good Practice (for Quality Improvement)
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การประกันคุณภาพ QUALITY ASSURANCE
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
หลักสูตร การผลิตพืชตามระบบ การรับรองมาตรฐาน GAP
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
สถาบันคลังสมองของชาติ 26 กุมภาพันธ์ 2554
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ พ. ศ ( มคอ.) เฉลิม วรา วิทย์
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Teaching & Learning Technology Development Center Technology Innovation for Education UNIVERSITY OF WISCONSIN – EAU CLAIRE By Srithon Meetam
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สัมมนาบุคลากรสายปฏิบัติการ ประจำปี 2554 วันที่ กันยายน 2554 เวลา – น. ณ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ ต. บ้านหลวง อ. จอมทอง จ. เชียงใหม่
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
ประสบการณ์การดำเนินงาน ตามแนวทาง AUN-QA ของมหาวิทยาลัยนเรศวร
นโยบายด้านกิจการนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร
Programme Assessment Results
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ASEAN University Network - Quality Assurance AUN-QA ASEAN University Network - Quality Assurance

1.เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน-การประกันคุณภาพ ASEAN University Network-Quality Assurance (AUN - QA) 2.จำนวนสมาชิก 10 ประเทศ รวมทั้ง Timor Leste เข้าร่วมการดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตร

3. สำหรับ ประเทศไทย มีจำนวน 4 มหาวิทยาลัย ที่เป็นสมาชิก AUN-QA ได้แก่ 1.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2.มหาวิทยาลัยมหิดล 3.มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4.มหาวิทยาลัยบูรพา

4. วัตถุประสงค์ของ AUN-QA 4 4.วัตถุประสงค์ของ AUN-QA 4.1 เพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้ และประสบการณ์ ด้านการ- ประกันคุณภาพหลักสูตร ระหว่าง ยุโรป และอาเซียนใน ระดับอุดมศึกษา (Higher Education) 4.2 เพื่อเพิ่มศักยภาพและพัฒนาคุณภาพ การเรียนและ การสอนรวมทั้งการยกระดับมาตรฐานของการประกัน คุณภาพ ในอาเซียน 4.3 เพื่อความสอดคล้องซึ่งกันและกัน ของระบบการศึกษา ในระดับอุดมศึกษาของอาเซียน

5. เครือข่ายการขับเคลื่อนประกอบด้วย 5 5.เครือข่ายการขับเคลื่อนประกอบด้วย 5.1 ASEAN University Network (AUN) 5.2 The ASEAN Quality Assurance Network (AQAN) 5.3 The Southeast Asian Ministers of Education Organisation Regional Centre for Higher Education and Development (SEAMEO RIHED) 5.4 The German Academic Exchange Service (DAAD) 5.5 The German Ractors’ Conference (HRK) 5.6 The European Association for Quality A ssuranuce in Higher Education (ENQA) 5.7 Postdam University (Germany)

6. การพัฒนาการประกันคุณภาพ หลักสูตร ของ AUN-QA พ. ศ 6.การพัฒนาการประกันคุณภาพ หลักสูตร ของ AUN-QA พ.ศ. 2541 การเริ่มการประชุม ของ AUN-QA พ.ศ. 2543 ข้อตกลงร่วมกัน ของ AUN-QA พ.ศ. 2544-2545 การกำหนดนโยบาย และการดำเนิน ของ Good Practices พ.ศ. 2546 การเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ จากสภาการรับรอง มาตรฐาน และการประเมิน ระดับชาติ ณ.ประเทศอินเดีย พ.ศ. 2547-2549 การกำหนด AUN-QA Guideline รวมทั้งการ พัฒนา AUN-QA Manual พ.ศ. 2551-2553 การอบรมผู้ประเมิน AUN-QA พ.ศ.2553 การประเมินหลักสูตร ณ.ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศ ฟิลิปปินส์ และประเทศเวียดนาม

7.แผนการดำเนินการ 7.1 การประกันคุณภาพหลักสูตรภายใน (Internal QA ) 7.2 การประชุม การเสวนา และการวางแผน (Dialogue Meeting) 7.3 การดำเนินการชี้แจง ความเป็นมา AUN-QA (Introduction) 7.4 กระบวนการประเมินคุณภาพหลักสูตรภายใน (Preparing SAR) 7.5 การดำเนินการส่งการประเมินคุณภาพหลักสูตรภายใน (Submitting SAR) 7.6 การประเมินตนเอง จากเครือข่าย (Peer Assessment) 7.7 การตรวจเยี่ยมเพื่อประเมินคุณภาพ

8. เกณฑ์การประเมิน ของ AUN-QA for Programme Level 1 8.เกณฑ์การประเมิน ของ AUN-QA for Programme Level 1.ผลลัพธ์ของความคาดหวังด้านการเรียน (Expected Learning Outcomes) 2.ความเฉพาะของหลักสูตร (Programme Specification) 3.โครงสร้างและเนื้อหาของหลักสูตร (Programme Structure and Content ) 4. กลยุทธ์การเรียนและการสอน (Teaching and Learning Strategy) 5. การประเมินผลนิสิต(Student Assessment) 6. คุณภาพของอาจารย์ (Academic Staff Quality) : ปัจจัยนำเข้า (Input) 7. คุณภาพของเจ้าหน้าที่ (Support Staff Quality)

8. คุณภาพนิสิต (Student Quality) 9. การสนับสนุนและการแนะแนวให้นิสิต (Student Advice and Support) 10. โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวก (Facilities and Infrastructures) 11. การประเมินคุณภาพของกระบวนการการเรียนและการสอน : ปัยจัย การดำเนินการ (Process) (Quality Assurance of Teaching and Learning Process) 12. กิจกรรม การพัฒนา บุคลากร (Staff Development Activities) 13. ผลสะท้อน ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stake holders Feed back) 14.ผลลัพธ์ (Output) : ปัจจัยนำออก (Output) 15.ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Satisfaction)