การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
ความก้าวหน้าในการติดตาม DHS /หมอครอบครัว จากผลการนิเทศผสมผสาน ๒ โซน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
โดย นายนิตย์ ทองเพชรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
ระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศโรคเรื้อรัง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ระบบHomeward& Rehabilation center
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
จังหวัดนครปฐม.
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การติดตามประเมินผล ปี 2552
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
วันที่ 7-9 สิงหาคม ตรวจราชการแบบบูรณาการ 3 เรื่อง :- การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด :- การป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น :- การป้องกันอุบัติเหตุจราจรบนถนน.
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงฯ เขตฯ10 ประจำปี วันที่ พ. ย ณ รร
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ข้อมูล ณ 7 พ.ค. 56 เวลา กิจกรรม ผู้เกี่ยวข้อง Output/Outcome
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
Unity Team (รวมกันเป็นหนึ่งเดียว) การทำงานร่วมกันและดำเนินงาน
กำหนดตรวจราชการฯ (M&E) สสจ.เพชรบุรี เลื่อนจาก วันที่ 16 พฤษภาคม 2557 เป็นวันที่ 28 พฤษภาคม 2557.
โครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
DHS.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
นายรังสรรค์ ศรีล้วน สรุปผลการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ 2558 ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี ปี2557

สถานการณ์การดำเนินงาน DHS ปี 2556 ทุกอำเภอผ่านการประเมิน ขั้นที่ 4 ทุกองค์ประกอบ องค์ประกอบ ส่วนขาด Unity team ขาดการประเมินผลการดำเนินงานเพื่อวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง Appreciation ขาดกระบวนการ Story Telling (เรื่องเล่า เร้าพลัง) ในระดับพื้นที่

สถานการณ์การดำเนินงาน DHS ปี 2556 องค์ประกอบ ส่วนขาด Essential care การดำเนินงานเวชปฏิบัติครอบครัวยังไม่ชัดเจน (มีเอกสารแนวทาง) Resource sharing and human development กระบวนการ CBL ยังไม่เกิดขึ้นจริง (ดำเนินการบางอำเภอ) Community Participation เฉพาะประเด็นมาตรการทางสังคมด้านสุขภาพยังขาดการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างแท้จริง

การพัฒนางานเพื่อยกระดับ DHS ปี 2557 องค์ประกอบ กิจกรรมที่ต้องดำเนินการ Unity team 1. คณะกรรมการฯต้องประชุมอย่างสม่ำเสมอและรายงานผลการประชุมให้จังหวัดทราบ (ทุก 2 เดือน) 2. คณะกรรมการสรุปผลการดำเนินงานและรายงานความก้าวหน้าตามประเด็นสุขภาพที่กำหนด รายไตรมาส Appreciation จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และชื่นชม ผลการดำเนินงาน ระดับอำเภอ Essential care จัดระบบการเยี่ยมบ้าน โดย นสค.และให้เกิดขึ้นจริง

การพัฒนางานเพื่อยกระดับ DHS ปี 2557 องค์ประกอบ กิจกรรมที่ต้องดำเนินการ Resource sharing and human development ใช้กระบวนการ CBL ในการพัฒนา นสค. สอดคล้องกับประเด็นสุขภาพหรือปัญหา Community Participation จัดกระบวนการประชาคมด้านสุขภาพให้ครอบคลุม กลุ่มเป้าหมาย

  กิจกรรมระดับอำเภอ ต.ค.-56 พ.ย.-56 ธ.ค.-56 ม.ค.-57 ก.พ.-57 มี.ค.-57 เม.ย.57 พ.ค.-57 มิ.ย.-57 ก.ค.-57 ส.ค.-57 ก.ย.-57 1 ประชุมคณะกรรมการ DHS ระดับอำเภอ สรุปผลการดำเนินงานปี 2556 (U) 2 จัดเตรียมข้อมูลเพื่อประชุมคณะกรรมการ DHS ระดับอำเภอ กำหนดประเด็นสุขภาพ 3 จัดทำแผนปฏิบัติการ (ประเด็นสุขภาพ) + แผนพัฒนาบุคลากร (CBL) ของเครือข่าย 4 ประสานงานกับกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นที่ ( บูรณาการแผนฯ) 5 เสนอแผนปฏิบัติการ (ประเด็นสุขภาพ) แผนพัฒนาบุคลากร (CBL) ของเครือข่าย ให้ สสจ.ลงนามอนุมัติ 6 พัฒนาระบบเวชปฏิบัติครอบครัว 6.1 ทบทวนระบบหมอครอบครัว นสค. ชุมชน ให้เป็นรูปธรรม (Downline ) 6.2 จัดทำแผนเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเรื้อรัง โดย นสค ทุก รพ. สต. (โดยเฉพาะกลุ่ม DM +HT ตอบตัวชี้วัดระดับเขต) 8 ดำเนินการพัฒนาบุคลากรตามแผนพัฒนาบุคลากร โดยกระบวนการ CBL 9 ทีมสุขภาพระดับอำเภอ ออกนิเทศ รพ.สต 10 จัดเวทีเรื่องเล่า เร้าพลัง ระดับอำเภอ 11 สรุปผลการประชุมคณะกรรมการ DHS ระดับอำเภอและรายงานผลให้ สสจ.ทราบ ทุก 2 เดือน