วิชา คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ เรื่อง เซต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย นางสาว ลักขณา คำวัฒนา เลขที่8
Advertisements

คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
งานวิจัย ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มักเขียนผิด
เรื่อง การคูณจำนวนที่มีหนึ่งหลัก กับจำนวนที่มีหนึ่งหลัก
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง การบวก
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การออกแบบกล่องบรรจุภัณฑ์
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน มัธยมศึกษาปีที่ 1
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คำศัพท์บทที่ 1 เสนอ อาจารย์ชัยสิทธิ์ พงพัฒน จัดทำโดย นางสาวมานิตา จันแก่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 เลขที่ 22 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก.
Quadratic Functions and Models
สื่อประกอบการเรียนการสอน การจัดเรียงหนังสือบนชั้น
อสมการ (Inequalities)
ป.บัณฑิต การบริหารการศึกษา รุ่นที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
กราฟความสัมพันธ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
สมาชิก 1.น.ส.ศรวณีย์ อินทร์วงศ์ เลขที่ 11
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ง40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
การหาตัวหารร่วมมาก โดยใช้รูปแบบบัญญัติ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
บทเรียนเพาเวอร์พอยท์
ชนิดของเซต เช่น A = เซตว่าง (Empty set or Null set)
โดย : อาจารย์พงศกร ละฟู่ สังกัดระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
Introduction : Principle of Programming
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
โครงงานเกมส์บวกเลขหรรษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ปรีชา เนาว์เย็นผล ศึกษาศาสตร์ มสธ.
โรงเรียนบ้านทุ่งหงาว
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ลำดับผู้มีอำนาจในการสั่งการภายในโรงเรียน
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนบ้านขจัดภัย เข้าสู่บทเรียน.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เรื่อง การสร้างการ์ตูน ผู้จัดทำโดย นาย ณรงค์ฤทธิ์ ทับยา เลขที่ 11 นาย ศุภสัณห์ รอดเจริญ เลขที่ 26 นาย ศุภสัณห์ รอดเจริญ เลขที่ 26 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5.
ชิ้นที่ 2 นางสาวจรรยา พุฒเจริญ คอมฯถูกใช้ในการออกแบบ สถานการณ์หรือปัญหาที่ ซับซ้อนต่างๆ.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
โรงเรียนบ้านวังไทร อำเภอปากช่อง สพท.นม. เขต 4
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
แนะนำเทคโนโลยี  การสืบค้นข้อมูล  แผ่นพับ โดย ด. ญ. เย็นจิต ชวภัทรโสภณ โรงเรียนสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น.
เรื่อง การพัฒนาทักษะการติดตั้งระบบเครือข่ายโดยใช้โปรแกรม VMware 8.0
ชิ้นงานที่ 2 สุภาลัย หมายถมกลาง คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการ ออกแบบสถานการณ์หรือ ปัญหาซับซ้อนต่างๆ.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ชื่อ - สกุล ที่อยู่ อายุ วัน เดือน ปีเกิด ประวัติ การศึกษา ชื่อบิดา - มารดา สิ่งที่ชอบ และไม่ ชอบ ความใฝ่ฝัน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชา คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ เรื่อง เซต Microsoft Multipoint วิชา คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ เรื่อง เซต อาจารย์อรนันท์ เชาว์พานิช ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุกูลนารี

จุดประสงค์การเรียนรู้ Microsoft Multipoint จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ความหมายของเซต 2. วิธีการเขียนเซต 3. ประเภทของเซต

Microsoft Multipoint แบบทดสอบก่อนเรียน

20 ข้อ 1. เซต หมายถึง กลุ่มของสิ่งต่าง ๆ ถูก ผิด

ข้อ2. สองภาพนี้ภาพใดเป็นเซตของดอกไม้ 20 ข้อ2. สองภาพนี้ภาพใดเป็นเซตของดอกไม้ False

ข้อ 3. เซตที่กำหนดให้ 2 เซต เป็นเซตที่เท่ากันหรือไม่ ข้อ 3. เซตที่กำหนดให้ 2 เซต เป็นเซตที่เท่ากันหรือไม่ {6,7,8,9,8,7} และ {9,8,7,6} เท่ากัน ไม่เท่ากัน 20

ข้อ 4. เซตที่กำหนดให้ 2 เซต เป็นเซตที่เท่ากันหรือไม่ ข้อ 4. เซตที่กำหนดให้ 2 เซต เป็นเซตที่เท่ากันหรือไม่ {a,b,c,d} และ {e,f,g,h} เท่ากัน ไม่เท่ากัน 20

ข้อ 5. เซตที่กำหนดให้ 2 เซต เป็นเซตที่เทียบเท่ากัน ข้อ 5. เซตที่กำหนดให้ 2 เซต เป็นเซตที่เทียบเท่ากัน {1,3,5,9,…} และ {2,4,6,8,…} ถูก ผิด 20

ข้อ 6. เซตที่กำหนดให้ 2 เซต เป็นเซตที่เทียบเท่ากัน A={ 2, 4, 6,8} และ B={ x| xI และ 0<x<5} ถูก ผิด 20

ข้อ7. กำหนดให้ A = { ,{0} ,1, {1}} ข้อใดถูกต้อง ? 20   A {0}  A 1 A ถูกทุกข้อ

ข้อ8. กำหนดให้ A = { 1, 2, 3} ข้อใดไม่ถูกต้อง ? 20   A 1  A { 1, 2}  A { 1, 2, 3}  A

ข้อ9. กำหนดให้ A = { 1, {2,3}, 3, 4} มีสมาชิกกี่ตัว 20 2 3 4 5

ข้อ10. กำหนดให้ A = { 1, {2,3}, 3, 4} มีจำนวนสับเซตกี่ตัว 20 5 6 7 8

คุณสมบัติเบื้องต้นของเซต เซต คือ สิ่งที่ถูกจัดรวมกันเป็นหมวดหมู่ กอง หรือ รายการต่างๆอย่างมีหลักเกณฑ์ ใช้เมื่อต้องการบ่งบอก สิ่งของ หรือบอกหมู่หรือกลุ่มสิ่งของ โดยต้องทราบ แน่นอนว่าสิ่งของนั้นอยู่ในกลุ่มและ/หรือไม่อยู่ในกลุ่ม

สิ่งที่อยู่ในกลุ่มเรียกว่า “สมาชิก” (Element)

Example เซตของจำนวนเต็มบวกที่น้อยกว่า 10 มีจำนวน 1,2,…,9 เป็นสมาชิก เซตของสระในอักษรภาษาอังกฤษ มี a, e, i, o, u เป็นสมาชิก เซตของคนที่เคยเดินทางไปดวงอาทิตย์ ไม่มีสมาชิกในเซตนี้

สัญลักษณ์ของเซต A = { 1, 2, 3 } B = { a, e, i, o, u } เซตโดยทั่วไปใช้ตัวอักษรตัวใหญ่ เช่น A,B,C,... สมาชิกของเซตใช้ตัวอักษรตัวเล็ก เช่น a,b,c,… ใช้วงเล็บปีกกาแทนเซต A = { 1, 2, 3 } B = { a, e, i, o, u } C = { a, b, d, e }

หมายถึง การเป็นสมาชิกของเซต  หมายถึง การไม่ได้เป็นสมาชิกของเซต เช่น C = { 1, 3, 5, 7 } จะได้ว่า 5  C แต่ 8  C ให้ n(x) = จำนวนสมาชิกของเซตใด ๆ เช่น C = { 1, 3, 5, 7 } จะได้ n(D) = 4

การเขียนเซตเขียนได้ 2 วิธี 1. วิธีแจกแจงสมาชิก (Roster Method) ใช้เครื่องหมายจุลภาค “ , ” คั่นระหว่างสมาชิกแต่ละตัว ลงในวงเล็บปีกกา “{ }” ตัวอย่าง A = { 1, 2, 3 } B = { a, e, i, o, u} C = {a, b, d, e}

2. วิธีการกำหนดเงื่อนไขการเป็นสมาชิก (Rule Method) อาศัยคุณสมบัติของสมาชิกของเซตทุกตัวที่มีร่วมกัน จะเขียนอยู่ในรูป { x | P(x) } ตัวอย่าง A = { x | x เป็นจำนวนเต็มบวกจาก 1 ถึง 5} B = { x | x เป็นจำนวนเต็มที่คั่นอยู่ระหว่าง 3 กับ 11} E = { x | x2-3x+2=0}

เซตว่าง ( Empty Set , Null Set ) ชนิดของเซต เซตว่าง ( Empty Set , Null Set ) นิยาม เซตว่าง คือ เซตที่ไม่มีสมาชิก หรือจำนวนสมาชิกเป็น ศูนย์ จะใช้สัญลักษณ์  หรือ { } แทนเซตว่าง A = { x|x เป็นจำนวนนับระหว่าง 1 กับ 2} B = { x|x เป็นคนที่เคยเดินทางไปดวงอาทิตย์}

เซตจักรวาลหรือเอกภพสัมพัทธ์ (Universal Set) นิยาม เซตจักรวาล คือ เซตของสิ่งทุกๆ อย่างที่กำลังศึกษา หรือกำลังพิจารณาอยู่ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ U Example (1) กำลังศึกษารากจำนวนจริงของพหุนาม (Polynomial) เซตจักรวาล ก็คือ เซตของจำนวนจริงทั้งหมด (2) U = {1,2,3,4,5,6,7,8,9,10} U คือ เซตของจำนวนนับตั้งแต่ 1 - 10

เซตจำกัด (Finite Set) นิยาม เซตจำกัด คือ เซตซึ่งมีสมาชิกเป็นจำนวนนับ หรืออาจเป็นศูนย์ก็ได้ สามารถบอกได้ว่าสมาชิกมีกี่ตัว ถ้า A เป็นเซตจำกัด จะใช้ | A | หรือ n(A) แทนสมาชิกของเซต A Example (1) A = { 2,4,6,8 } | A | = 4 (2) B = {1,2,3,...,9} n(B) = 9 (3) C = { } n(c) = 0

เซตอนันต์ (Infinite Set) นิยาม เซตอนันต์ คือ เซตซึ่งไม่ใช่เซตจำกัดจำนวนสมาชิก นับไม่ถ้วน Example A = { 1, 2, 3,…} B = { x | x เป็นจำนวนจริงซึ่งอยู่ระหว่าง 0 กับ 1 }

ความสัมพันธ์ระหว่างเซต สับเซต (Subset) นิยาม เซต A เป็นสับเซตของ B ก็ต่อเมื่อสมาชิกทุกตัว ของ A เป็นสมาชิกของ B แทนด้วยสัญลักษณ์ A  B ถ้า A ไม่เป็นสับเซตของ B แทนด้วยสัญลักษณ์ A  B

ตัวอย่าง กำหนดให้ A = { 1, 2, 3} จงหาสับเซตทั้งหมด 1.  2. {1} 3. {2} 4. {3} 5. { 1, 2} 6. {2, 3} 7. { 1, 3} 8. { 1, 2, 3}

สับเซตแท้ (proper subset) นิยาม เซต A เป็นสับเซตแท้ของ B ก็ต่อเมื่อ A  B แต่ A ≠ B Example กำหนดให้ A = {1,2, } จงหาสับเซตแท้ สับเซตแท้ของ A มี เซต 1.  2. {1} 3. {2} ดังนั้น สับเซตแท้ของ A คือ สับเซตของ A ยกเว้นเซต A เอง

Power Set Note (1)   P(A) และ A  P(A) นั่นคือ P(A)= { x|x  A } Note (1)   P(A) และ A  P(A) (2) ถ้า A มีสมาชิก n ตัว จะได้ว่า P(A) จะมีสมาชิก เท่ากับ 2n ตัว

ความสัมพันธ์ระหว่างเซต การเท่ากันของเซต (Equal Set) นิยาม เซต A เท่ากันกับเซต B ก็ต่อเมื่อ A B และ B A เขียนแทน ด้วยสัญลักษณ์ A = B Example กำหนดให้ A = {1,2,3} B = {3,2,1} C = { 1,1,3,2,2,2} แล้วจะได้ว่า A=B=C

ความสัมพันธ์ระหว่างเซต เซตสมมูลกัน (Equivalent Set) นิยาม เซต A กับเซต B เรียกว่า เซตที่สมมูลกัน ก็ต่อเมื่อสามารถทำให้ A กับ B สมนัยชนิด 1 ต่อ 1 ได้ Example กำหนดให้ (1) A = {1,2,3} B = {a,b,c} (2) A = {1,3,5,7,...} B = {2,4,6,8,...,} A,B เป็นเซตที่สมมูลกัน

กิจกรรม

ให้นักเรียนลากสมาชิกของเซตผลไม้ไทย มาใส่ในกระจาด

วงกลมตัวเลขที่เป็นสมาชิกของเซต B ={x|x  I และ1<x<9} 3 7 4 6 5 9 2 8

 เป็นเซตจำกัด ? ถูก ผิด

เซตทุกเซตเป็นสับเซตของตัวมันเอง ถูก ผิด

จงลากจำนวนสมาชิกไปใส่ให้ตรงกับเซต A = { 1, {1}, {1,1} }   B = { 2, 3, 6, 7,9,10,11 }     C= { 0, 1, {2},{3},{ {4},5 }}

จงหาว่าเซต B มีสมาชิกกี่ตัว <Keypad will appear here based on shape and location of this rectangle.>

แบบทดสอบก่อนเรียน 20 ข้อ 1. เซต หมายถึง กลุ่มของสิ่งต่าง ๆ ถูก ผิด

ข้อ2. สองภาพนี้ภาพใดเป็นเซตของดอกไม้ 20 ข้อ2. สองภาพนี้ภาพใดเป็นเซตของดอกไม้ False

ข้อ 3. เซตที่กำหนดให้ 2 เซต เป็นเซตที่เท่ากันหรือไม่ ข้อ 3. เซตที่กำหนดให้ 2 เซต เป็นเซตที่เท่ากันหรือไม่ {6,7,8,9,8,7} และ {9,8,7,6} เท่ากัน ไม่เท่ากัน 20

ข้อ 4. เซตที่กำหนดให้ 2 เซต เป็นเซตที่เท่ากันหรือไม่ ข้อ 4. เซตที่กำหนดให้ 2 เซต เป็นเซตที่เท่ากันหรือไม่ {a,b,c,d} และ {e,f,g,h} เท่ากัน ไม่เท่ากัน 20

ข้อ 5. เซตที่กำหนดให้ 2 เซต เป็นเซตที่เทียบเท่ากัน ข้อ 5. เซตที่กำหนดให้ 2 เซต เป็นเซตที่เทียบเท่ากัน {1,3,5,9,…} และ {2,4,6,8,…} ถูก ผิด 20

ข้อ 6. เซตที่กำหนดให้ 2 เซต เป็นเซตที่เทียบเท่ากัน A={ 2, 4, 6,8} และ B={ x| xI และ 0<x<5} ถูก ผิด 20

ข้อ7. กำหนดให้ A = { ,{0} ,1, {1}} ข้อใดถูกต้อง ? 20   A {0}  A 1 A ถูกทุกข้อ

ข้อ8. กำหนดให้ A = { 1, 2, 3} ข้อใดไม่ถูกต้อง ? 20   A 1  A { 1, 2}  A { 1, 2, 3}  A

ข้อ9. กำหนดให้ A = { 1, {2,3}, 3, 4} มีสมาชิกกี่ตัว 20 2 3 4 5

ข้อ10. กำหนดให้ A = { 1, {2,3}, 3, 4} มีจำนวนสับเซตกี่ตัว 20 5 6 7 8