ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม) สัดส่วนการบริโภคมะม่วงในประเทศไทย ส่งออก 1.34% ผลผลิตบริโภค ภายในประเทศ 98.66% แหล่งผลิตสำคัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ นครราชสีมา สุพรรณบุรี ฉะเชิงเทรา อุดรธานี อุทัยธานี มะม่วง เนื้อที่ยืนต้น (ไร่) ไม่มีพื้นที่ปลูก ≤ 10,000 10,001 – 50,000 50,001 – 100,000 100,001 – 200,000 ชื่อไทย : Ma-muang ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mangifera indica L. ปี 2549 2550 2551 - ตัน 24,511 29,663 36,334 815.77 1,148.15 1,428.74 มะม่วงสด 11,169 11,283 15,476 - ล้านบาท 259.24 293.92 354.18 มะม่วงกระป๋อง 12,446 12,489 17,210 432.46 438.76 665.71 การส่งออก ที่มา : กรมศุลกากร มะม่วงอบแห้ง 217 638 587 58.56 101.14 138.61 มะม่วงแช่แข็ง 678 5,254 3,062 65.49 314.31 270.23 ปี 2549 2550 2551 อัตราเพิ่ม (%) พื้นที่เก็บเกี่ยว (ล้านไร่) 1.76 1.86 1.91 4.020 ผลผลิตรวม (ล้านตัน) 2.01 2.30 2.37 6.5 ผลผลิตต่อไร่ (ตัน) 1.19 1.24 1.24 2.096 ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม) พันธุ์ ราคาเฉลี่ยทั้งปี พันธุ์ ราคาเฉลี่ยทั้งปี 2549 2550 2551 2549 2550 2551 เขียวเสวย 22.59 19.69 23.08 อกร่อง 6.87 11.50 - แก้ว 5.09 6.56 6.73 แรด 6.57 11.58 5.79 น้ำดอกไม้ 17.80 15.54 15.75 ทองดำ 14.50 14.68 11.33 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ช่วงเวลาเก็บเกี่ยวผลผลิต ปี 2551 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. การคัดขนาด ขนาด น้ำหนัก (กรัม) 1 > 351 2 251-350 3 200-250 ที่มา : สำนักมาตรฐานและตรวจสอบสินค้าเกษตร ช่วงเดือนที่เก็บเกี่ยวผลผลิต ช่วงเดือนที่เก็บเกี่ยวผลผลิตสูง เรียบเรียงโดย : นางสาวสุนันทา พ่วงเสมา นักวิชาการผู้รับชอบมะม่วง กลุ่มฯไม้ผล สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร 19 มิ.ย. 52
มะม่วง จุดเด่น แนวทางแก้ไขปัญหาในอนาคต ปัญหา 1. การปฏิบัติดูแลรักษาง่าย 2. สามารถทำการผลิตนอกฤดู 3. พันธุ์หลากหลาย แนวทางแก้ไขปัญหาในอนาคต 1. ทำการวิจัยวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวมะม่วงโดยเน้นในเรื่องการป้องกันและกำจัดโรคแอนแทรคโนส 2. ส่งเสริมให้เกษตรกรเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและ แนะนำระบบการบริหารคุณภาพการผลิตเพื่อควบคุม การผลิตตั้งแต่ระดับสวนเพื่อนำไปสู่การตรวจสอบและ รับรองสวน 3. สนับสนุนให้มีการทำสัญญาซื้อขายแบบล่วงหน้า (Contract Farming) มากขึ้น 4. ส่งเสริมให้มีการแปรรูปมากขึ้น 5. สร้างเครือข่ายระหว่างกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงเพื่อให้มีการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารและกำหนดวิธีการใน การผลิต 6. วิจัยในเรื่องวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว ปัญหา 1. ผลผลิตไม่สม่ำเสมอ และมีคุณภาพต่ำ 2. มี ศัตรูสำคัญ คือ แอนแทรคโนส และเพลี้ยไฟ 3. การเชื่อมโยงการตลาดระหว่างผู้ผลิต และผู้ประกอบการยังมีน้อย 4. ผู้ส่งออกไม่ให้ความสำคัญเรื่องการทำ สัญญาซื้อขายแบบล่วงหน้า แนวทางแก้ไขปัญหาที่ดำเนินการแล้ว 1. ถ่ายทอดเทคโนโลยีความรู้ในเรื่องการผลิตมะม่วงตามแบบเกษตรดีที่เหมาะสม (GAP) 2. รวมกลุ่มผู้ผลิตเพื่อพัฒนาคุณภาพผลผลิตตามความต้องการของตลาด 3. ภาครัฐมีการนำร่องการอบไอน้ำเพื่อป้องกันและกำจัดแมลงวันผลไม้ สำหรับประเทศที่มีข้อจำกัดในเรื่องนี้ เช่น ประเทศญี่ปุ่น เกาหลี และนิวซีแลนด์ 4. ส่งเสริมให้มีการทำสัญญาซื้อขายแบบล่วงหน้า (Contract Farming) 5. รณรงค์การป้องกันและกำจัด เพลี้ยไฟ และโรคแอนแทรคโนส ในแปลงเกษตรกร
ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม) มะม่วง การคัดขนาด ขนาด น้ำหนัก (กรัม) 1 > 351 2 251-350 3 200-250 ที่มา : สำนักมาตรฐานและตรวจสอบสินค้าเกษตร ชื่อไทย : Ma-muang ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mangifera indica L. การส่งออก ปี 2548 2549 2550 - ตัน ปี 2549 2550 2551 พื้นที่เก็บเกี่ยว (ล้านไร่) 1.76 1.86 1.91 ผลผลิต (ล้านตัน) 2.01 2.30 2.37 ผลผลิตต่อไร่ (ตัน) 1.19 1.24 1.24 14,195 24,511 29,663 - ล้านบาท 597 816 1,148 ส่งออก 1.34% ผลผลิตบริโภค ภายในประเทศ 98.66% มะม่วงสด - ตัน 2,494 11,169 11,283 294 - ล้านบาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 713,393 ตัน (32.16%) ภาคเหนือ 513,939 ตัน (23.98%) ภาคอื่น ๆ 972,930 ตัน (43.86%) รวม 2,218,262 ตัน (100%) 134 259 มะม่วงกระป๋อง - ตัน 10,689 12,446 12,489 พื้นที่ปลูก (ไร่) ปี พื้นที่ให้ผล พื้นที่ยังไม่ให้ผล รวม 2549 1,762,423 453,118 2,215,541 1,860,005 385,614 2,245,619 1,906,960 447,176 2,354,136 อัตราเพิ่ม (%) 4.020 -0.658 3.080 439 - ล้านบาท 367 433 มะม่วงอบแห้ง - ตัน 180 217 638 - ล้านบาท 49 59 101 มะม่วงแช่แข็ง - ตัน 832 678 5,254 314 - ล้านบาท 48 66 ผลผลิต (ตัน) ปี ผลผลิตรวม ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่/ปี) 2,093,223 1,188 2,218,262 1,238 2,374,165 1,238 อัตราเพิ่ม (%) 6.5 2.096 ที่มา : กรมส่งเสริมการเกษตร ศูนย์สารสนเทศ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ที่มา : กรมศุลกากร ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม) พันธุ์ ราคาเฉลี่ยทั้งปี พันธุ์ ราคาเฉลี่ยทั้งปี 2548 2549 2550 2548 2549 2550 เขียวเสวย 17.62 22.59 19.69 อกร่อง 12.67 6.87 11.50 แก้ว 4.63 5.09 6.56 แรด 10.99 6.57 11.58 น้ำดอกไม้ 13.45 17.80 15.54 ทองดำ 8.68 14.50 14.68 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ภาคตะวันออก, ตะวันตก, กลาง มีนาคม - เมษายน (ผลผลิตออกมาก 1 เม.ย-15 เม.ย. ) ภาคเหนือ, ตะวันออกเฉียงเหนือ้ เมษายน-มิถุนายน (ผลผลิตออกมาก 16 เม.ย.-30 มิ.ย. ) ฤดูกาลเก็บเกี่ยว รวบรวมโดยกลุ่มฯไม้ผล สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร 1 มิ.ย. 50