กลุ่ม ก้าวไกลกับไอทีที่ ศบกต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
Advertisements

ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวและสร้างความเข้มแข็งให้ชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าอาเซียน (AFTA) ประสานงานกับกรมการข้าว และสำนักงานเกษตรจังหวัด.
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การสร้างแรงจูงใจและพัฒนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
1. ข้อมูลพื้นฐานของ 1) วิสัยทัศน์ 2) พันธกิจ 3) อำนาจหน้าที่
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่ม ๓ ชื่อ กลุ่ม....สามซ่าๆๆ.
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
กลุ่มที่ 1.
แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน
โครงการส่งเสริมการปลูกปาล์มน้ำมันพันธุ์ดี
กลุ่มที่ 16 ชื่อกลุ่ม ทวารวดี
โครงการส่งเสริมการผลิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการ ส่งเสริมการผลิตข้าว ที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นางสาววิไลวรรณ ดุลยพัฒน์
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายอามะ แวดราแม
ภารกิจถ่ายโอน บริการข้อมูลและเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการ ผลิต การตลาด เทคโนโลยี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
การดำเนินงานปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกร (จำแนกกิจกรรมการเกษตรรายแปลง)
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กลุ่มที่ 1 หัวข้อ ขอบเขต
โดย “กลุ่มที่ ๒... ฉลองชัย ”
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ครั้งที่ 1 วันที่ กุมภาพันธ์ 2556
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
กลุ่มที่ 15 กลุ่ม อ่าวสวยทะเลใส
วิทยากร อ.นิภารัตน์ รัตโนภาส ผู้ช่วยวิทยากร นายปิยะพงศ์ เบาโพธิ์
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
กลุ่มข้าวเหนียว.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ขั้นตอนในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการบริหารงาน ประเภทสหกรณ์บริการ คณะทำงาน 1. นางอรุณี เมืองกาญจน์ ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์ 2. นางรุจิรา ขำพล ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่ม ก้าวไกลกับไอทีที่ ศบกต. แนวทางการส่งเสริมการเกษตรโดยใช้ ศบกต. เป็นกลไกในปี 2555-2554

สมาชิกกลุ่ม นางสาวอารีนาถ กุณที พระนครศรีอยุธยา นางวงเดือน มณี สระบุรี นางวงเดือน มณี สระบุรี นางณภัทร ภูริผล ลพบุรี นายถาวร เสงี่ยมวงษ์ ลพบุรี นายสุรชัย มีทอง อ่างทอง นางสาวฉัตรแก้ว จันทร์คง สมุทรสาคร นายณรงค์ สำแดงเดช เพชรบุรี นางศิมาพร แสงอร่าม ราชบุรี นางสาวรัตติญา งามระบำ ราชบุรี นายชัยณรงค์ หงส์ทอง ประจวบคีรีขันธ์ นายสถิต อายุรพรรณ สระแก้ว นายกอบลาภ เขียวอุดม สระแก้ว นางกมลลักษณ์ ปลอดโปร่ง ชลบุรี นายอนันต์ พันสด นครนายก นายธีระ กิจเจริญ ระยอง นายมาฆะ จันทา 2

1. บทบาทและสถานะ ของ ศบกต. ประเด็น - เป็นจุดบริการร่วมด้านการเกษตรสามารถให้บริการแก่เกษตรกรทุกงานในด้านการเกษตร(One stop service) - จัดให้มีระบบสารสนเทศ บริการความรู้และสืบค้นข้อมูลด้านการเกษตร (E-extention) - ให้ ศบกต. จัดเป็นหน่วยงานหนึ่งในสารบบของ อบต. (ส่วนงานเกษตร) เหตุผลประกอบ - เพื่อความสะดวกในการขอรับบริการของเกษตรกรในพื้นที่ เป็นเครื่องมือในการช่วยเหลือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และศบกต. เพื่อให้ อบต.สามารถดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณได้อย่างถูกต้อง

2. โครงสร้างและบทบาทของ ศบกต. ประเด็น - ให้ ศบกต. มีคณะกรรมการไม่น้อยกว่า 15 คน ให้ นายก อบต. เป็นประธานศูนย์บริการฯ โดยตำแหน่ง ให้นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรเป็นเลขานุการ ให้พนักงานส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ช่วยเลขานุการ - ให้คณะกรรมการศูนย์บริการฯ เข้าไปมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ/รับรองข้อมูลด้านการเกษตรของเกษตรกรในพื้นที่รับผิดชอบ เหตุผลประกอบ เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน ศบกต. และเกิดการมีส่วนร่วมระหว่างหน่วยงานภาคี เพื่อให้คณะกรรมการศูนย์บริการฯ มีบทบาทในการทำงานในชุมชน มากขึ้น

3. บทบาทและการมีส่วนร่วมของ อปท. กับการสนับสนุนการปฏิบัติงาน 3. บทบาทและการมีส่วนร่วมของ อปท. กับการสนับสนุนการปฏิบัติงาน ประเด็น - ให้ อบต.ตั้งงบประมาณในการ บริหารงานของ ศบกต. เหตุผลประกอบ - เพื่อให้ ศบกต.มีงบประมาณในการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ และเกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

4. บทบาทของอาสาสมัครเกษตรหรือเกษตรหมู่บ้าน กับการมีส่วนร่วมของ ศบกต. 4. บทบาทของอาสาสมัครเกษตรหรือเกษตรหมู่บ้าน กับการมีส่วนร่วมของ ศบกต. ประเด็น ให้อาสาเกษตร เกษตรหมู่บ้าน เป็นคณะกรรมการบริหารศูนย์บริการฯ ให้มีส่วนร่วมในการสำรวจ วิเคราะห์ข้อมูลด้านการเกษตร และการสำรวจภัยธรรมชาติ กำหนดให้อาสาสมัครเกษตร เกษตรหมู่บ้าน เป็นผู้ช่วยในการปฏิบัติงานของ เลขานุการศูนย์บริการฯ(นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร) เหตุผลประกอบ เพื่อให้มีส่วนร่วมในการพัฒนางานและช่วยเหลือการปฏิบัติงานด้านการเกษตร

5.บทบาทของกรมส่งเสริมการเกษตรระดับส่วนกลาง ภูมิภาค กับการสนับสนุนการดำเนินงานของ ศบกต. ประเด็น ให้กรมทำหนังสือแจ้ง อบต. และจังหวัด เรื่องการโอนเงินงบประมาณ 20,000 บาท ให้มีหลักฐานชัดเจน ให้กรมและหน่วยงานภาคี จัดประชุมสัมมนา เพื่อทบทวนและซักซ้อมความเข้าใจในการถ่ายโอนภารกิจทุกปี ให้กรมจัดหาสื่อและอุปกรณ์ในการถ่ายทอดความรู้ จัดส่งให้จังหวัด อำเภอ และกำหนดแผนถ่ายทอดความรู้ เป็นแผนประจำปี ให้รางวัลแก่ ศบกต. ดีเด่น โดยให้เลขานุการศูนย์บริการฯ ที่ได้รับรางวัล ได้รับการเลื่อนขั้น/เลื่อนระดับ เป็นกรณีพิเศษเพื่อเป็นขวัญกำลังใจ ควรมีเงินรางวัลเพื่อมอบให้แก่ ศบกต. ในจำนวนที่มากขึ้น เพื่อให้เพียงพอแก่การนำไปพัฒนาศูนย์บริการฯต่อไป เหตุผลประกอบ เพื่อความชัดเจนในการดำเนินงานการถ่ายโอนภารกิจ ศบกต. และอปท.สามารถรับภารกิจดังกล่าวไปดำเนินการได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ เป็นเครื่องมือช่วยในการถ่ายทอดความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นแรงจูงใจในการพัฒนา ศบกต. อย่างต่อเนื่อง

6. การจัดตั้ง ศบกต.เพิ่มเติม ประเด็น จัดตั้ง ศบกต.เพิ่มเติมได้ ตามความต้องการของชุมชนและตามศักยภาพของพื้นที่ เหตุผลประกอบ เพื่อประโยชน์ของเกษตรกรในพื้นที่ในการรับบริการได้อย่างทั่วถึง

ขอบคุณค่ะ