รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ • เกษตรธรรมชาติ - เกษตรอินทรีย์ - เกษตรชีวภาพ - ปุ๋ยคอก - ปุ๋ยหลักและปุ๋ยพืชสด
• ไร่นาสวนผสม • เกษตรผสมผสาน - เลี้ยงสัตว์ - ทำประมง - เน้นการสร้างแหล่งอาหารแบบพออยู่พอกิน • วนเกษตร • เกษตรกรรมพืชเชิงเดี่ยว
• เกษตรกรรมยั่งยืนที่เน้นกิจกรรมเชิงเดี่ยว แต่ผสมผสานกับการทำไร่ ทำนา ทำสวน เลี้ยงสัตว์ควบคู่กัน - พืชไร่ - พืชสวน - ปศุสัตว์ - สัตว์น้ำ - พืชผักสวนครัว - ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม
ตัวชี้วัดความยั่งยืนของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และเกษตรกรรมยั่งยืน • ด้านสิ่งแวดล้อม - ไม่มีการตัดไม้ทำลายป่า - ป้องกันความเสื่อมโทรมของป่า - ไม่มีสารพิษในร่างกายจนส่งผลกระทบถึงอันตรายต่อสุขภาพ • ด้านสังคม - และเกษตรกรทั่วๆไป สามารถทำเกษตรกรรมยั่งยืน - รวมกลุ่มกันและเกิดเครือข่ายผู้นำในการแก้ปัญหาหรือดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
• ด้านเศรษฐกิจ - มีแหล่งอาหารที่เพียงพอมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น - ลดรายจ่ายโดยไม่ต้องใช้จ่ายในการซื้ออาหารเป็นประจำ ทุกวัน - มีทุนและปัจจัยการผลิตรวมทั้งผลผลิตที่มากพอจนเหลือสำหรับจำหน่ายและแบ่งปันให้กับผู้อื่นได้ • ด้านอาชีพและไม่เกิดการย้ายถิ่นไปทำงานที่อื่น - เกษตรกรที่มีงานทำตลอดปี - เมื่อมีงานทำทุกวันจะส่งผลไม่ให้เกิดการอพยพไปทำงานที่อื่น
• ด้านสุขภาพและจิตใจ - ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีอารมณ์แจ่มใสสด ชื่นเป็นประจำ • ด้านการศึกษา - มีศักยภาพในการส่งให้ลูกหลานได้มี การศึกษา