OPENSOURCE กับการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
SEMINAR การใช้ Free Software
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
การพัฒนาระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานแทนที่กา​รใช้ระบบ SAP-ESS ในส่วนของกา​รประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อลดค่าใช้จ่ายในเรื่องของ License.
ภาษาคอมพิวเตอร์ กฎเกณฑ์เกี่ยวกับคำศัพท์ ไวยากรณ์ และ หลักภาษาในการเขียนคำสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้กับเราได้ มีหลากหลายชนิดต่างๆ กัน.
Software.
การประยุกต์ใช้ไอซีที ในบริบทธุรกิจท่องเที่ยว
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
คำถาม กระทรวงใหม่ที่ดูแลทางด้าน IT ชื่อกระทรวงอะไร?
HTTP Client-Server.
ศุภโชค จันทรประทิน ผู้ช่วยนักวิจัย ห้องปฎิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
System Integration.
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 3rd ปัญหา อุปสรรค แนวโน้มของ อุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 4 th กลยุทธ์การส่งเสริมและพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพอุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
Thai Webmaster Association1 Asst.Prof.Taskeow srisod.
เพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพ
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
การพัฒนาระบบสารสนเทศ:องค์กรขนาดเล็ก
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
โอเพนซอร์สในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ การทำงานของคอมพิวเตอร์นอกจากใช้ระบบปฏิบัติการแล้ว ผู้ใช้ต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการทำงานด้านต่าง ๆ ซึ่งต้องอาศัยซอฟต์แวร์ที่มีผู้ผลิตขึ้นให้เลือกใช้งาน.
ซอฟแวร์ประยุกต์.
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
อุทัย คูหาพงศ์. ในอดีต โปรแกรมต่างๆมีการพัฒนาโดย นักพัฒนาและแลกเปลี่ยนกันโดยเสรี เริ่มมีการพัฒนาทางการค้าของ ซอฟต์แวร์มากขึ้น กลุ่มคนที่มองว่าซอฟต์แวร์เป็นสมบัติ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ OS Commerce สำหรับงานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดย อ. ประมุข นิภารักษ์ วันศุกร์ที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เวลา ๐๙. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น. ห้องปฏิบัติการ.
องค์ประกอบ เทคโนโลยี สารสนเทศ. เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร โทรคมนาคม ฮาร์ดแ วร์ ซอฟต์ แวร์ บุคลาก ร ข้อมูล ขั้นตอน การ ปฏิบัติงาน.
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
โครงการบ่มเพาะ ผู้ประกอบการกองทุนตั้ง ตัวได้ต้นแบบ.
LOGO ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข Open Source.
Evaluation of Thailand Master Plan
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ADDIE Model.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
นายณัฐพล นาคะป่า เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7
ชนิดของซอฟต์แวร์ (2).
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
OS Network. Network Operating System, NOS Netware from Novell Microsoft Windows NT Server Microsoft Windows NT 2003 Server AppleShare Unix Linux.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
Open source.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

OPENSOURCE กับการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของไทย เสรี ชิโนดม สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา สมาพันธ์โอเพนซอร์สแห่งประเทศไทย http://www.tosf.org 23/6/2003

หัวข้อนำเสนอ ประวัติความเป็นมาของซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ความหมายของซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส สัญญาอนุญาตแบบต่างๆ แนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของไทยโดยใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ข้อดีและข้อเสียของการนำซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สมาใช้ในการพัฒนาเชิงพาณิชย์ แหล่งสืบค้นข้อมูลของซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส 23/6/2003

ประวัติ 23/6/2003

GNU ‘s not UNIX จัดตั้ง โดย Richard Stallman ในปี 1984 ต้องการให้มีการเผยแพร่ระบบปฏิบัติการแบบไม่มีค่าใช้จ่าย Emacs gcc- C compiler Bash shell Hurd (OS) start 1985 GNU ได้ประกาศเป็นทางการ เครื่องมือและโปรแกรมยูติลิตี้ของลีนุกซ์เป็น GNU tools 23/6/2003

Cathedral & Bazaar เผยแพร่ในปี 1997 โดย Eric S Raymond แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างขั้นพื้นฐานของรูปแบบ การพัฒนาซอฟต์แวร์ให้สิทธิการใช้กับซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส โดยการใช้ลีนุกซ์ (Linux) เป็นตัวแทนของซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส 23/6/2003

Cathedral & Bazaar Raymond ใช้คำว่า “Cathedral” ซึ่งหมายถึงรูปแบบส่วนใหญ่ในโลกเชิงธุรกิจและ “Bazaar” ว่าหมายถึง รูปแบบของโลกลินุกซ์ (Linux World) ซึ่งผู้พัฒนาอิสระนับพันคนจากทั่วโลก มีการติดต่อกันโดยทางของอินเทอร์เน็ต เพื่อร่วมกันพัฒนาระบบปฎิบัติการที่น่าเชื่อถือที่สุดที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน 1998 Eric Raymond ได้ช่วย บริษัท Netscape ในการจัดทำ ‘open source’ พยายามสนับการพัฒนาแบบ free software 23/6/2003

เปรียบเทียบการพัฒนาของซอฟต์แวร์ให้สิทธิการใช้กับซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส รูปแบบ (Model) Cathedral Bazaar แหล่งที่มา (Resources) รู้ ไม่รู้ ระยะเวลาการวางแผน (Period of Planning) ตลอดโครงการ ทีละขั้นตอน ผู้ใช้ (User) ลูกค้าที่จ่ายเงิน ผู้ร่วมพัฒนา วัตถุประสงค์ (Objective) ทำตามสัญญา / ข้อกำหนด แก้ไขปัญหา การบังคับใช้ (Enforcement) รุนแรง ไม่รุนแรง การขยายตัว (Progress) เฉพาะกลุ่ม สาธารณะ รูปแบบความร่วมมือ (Collaboration) เผชิญหน้า ผ่าน Internet การประกันคุณภาพ มีการจัดการ การแข่งขัน, การรวมกลุ่มเพื่อตรวจสอบ (การตรวจสอบร่วมกัน) 23/6/2003

เปรียบเทียบลักษณะทั่วไปของซอฟต์แวร์ให้สิทธิการใช้กับซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส การพัฒนา (Development) ปิด เปิด, ความร่วมมือผ่าน Internet การอนุญาต (License) ใช้เท่านั้น ใช้ ศึกษา ปรับเปลี่ยน และเผยแพร่ซ้ำ จุดมุ่งหมายทางธุรกิจ (Business Goal) ครอบงำตลาด การรวมระบบ การปรับให้เหมาะตามความต้องการและ Localization การส่งมอบ (Delivery) เพื่อธุรกิจ เพื่อการศึกษา ความเป็นเจ้าของ (Ownership) แต่เพียงผู้เดียว, จำกัด ทวีคูณ, ไม่จำกัด 23/6/2003

ลีนุกซ์ ได้พัฒนาระบบลีนุกซ์ขึ้นโดย ลีนุส ทอร์วัลด์ส (Linus Torvalds) ในปี 1991 ขณะนั้นกำลังศึกษา ปริญญาโท สาขา Computer Science ที่มหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ (Helsinki) ในประเทศฟินแลนด์ 23/6/2003

ลีนุกซ์ ลีนุส ทอร์วัลด์ส พัฒนาระบบลีนุกซ์โดย ศึกษาระบบปฏิบัติการ มินิกซ์ (Minix) ซึ่งพัฒนามาจากยูนิกซ์เพื่อใช้งานบน เครื่องคอมพิวเตอร์พีซี • ลีนุส ทอร์วัลด์ส เห็นว่า มินิกซ์ ยังใช้งานไม่ได้ดี จึงปรับปรุงพัฒนาใหม่จาก ยูนิกซ์ ได้เป็น ลีนุกซ์ 23/6/2003

ฟรีแต่ขายได้ โอเพนซอร์สคืออะไร Free Software ≠ Freeware Open Source ≅ Free Software Free Software ≠ Freeware Free Software ≠ Freeware ฟรีแต่ขายได้ 23/6/2003

Free Software คืออะไร www.fsf.org ซอฟต์แวร์ที่มีเสรีภาพ ในการ ใช้งาน (freedom to run ) ศึกษา (freedom to study) แจกจ่ายต่อ (freedom to redistribute) ปรับปรุง (freedom to improve) 23/6/2003

โอเพนซอร์สต้องรวมความดังต่อไปนี้ Free Redistribution เผยแพร่ได้อย่างเสรี; ไม่จำกัดไม่ให้ขายหรือ แจก; ทำซ้ำ ขาย หรือแจกจ่ายได้โดยไม่ต้องจ่าย ค่า Royalty fee Source Code ซอร์สโค้ด: นอกจากโปรแกรมที่ compile แล้ว ต้องเผยแพร่ Source code ด้วย Derived Works งานต่อเนื่อง ;อนุญาตให้แก้ไข ปรับแต่ง ดัดแปลง และต้องเผยแพร่ต่อภายใต้ license ต้นฉบับ 23/6/2003

โอเพนซอร์สต้องรวมความดังต่อไปนี้ Integrity of the Authors Source Code การคงความสมบูรณ์ในซอร์สโค้ดของ ผู้เขียน; ต้นฉบับอาจกำหนดให้เผยแพร่ฉบับ แก้ไขได้ด้วย patch file เพื่อระบุส่วนความ รับผิดชอบของ Source code No Discrimination Against Persons or Groups การไม่เลือกปฏิบัติต่อบุคคลหรือกลุ่ม ; ไม่แบ่งแยกหรือกีดกันบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในการ เข้าถึงซอฟต์แวร์ No Discrimination Against Fields of Endeavor การไม่เลือกปฏิบัติในการจำกัดสาขาการใช้งาน; ไม่แบ่งแยกหรือกีดกันการใช้ซอฟต์แวร์เฉพาะงาน หรือสาขา 23/6/2003

โอเพนซอร์สต้องรวมความดังต่อไปนี้ Distribution of License การเผยแพร่สัญญาอนุญาต; ต้องให้สิทธิเท่า เทียมกันกับทุกฝ่าย โดยต้องไม่มี license เพิ่มเติมเฉพาะฝ่าย; ป้องกันการเรียกร้อง non- disclosure agreement License Must Not Be Specific to a Product สัญญาอนุญาตต้องไม่เจาะจงผลิตภัณฑ์; ทุกส่วนของต้นฉบับต้องอนุญาตสิทธิที่เท่าเทียม กันสำหรับทุกฝ่ายในการนำไปใช้งาน 23/6/2003

โอเพนซอร์สต้องรวมความดังต่อไปนี้ The License Must Not Restrict Other Software สัญญาอนุญาตต้องไม่จำกัดซอฟต์แวร์อื่นๆ License ต้องไม่มีผลถึงซอฟต์แวร์อื่นที่เผยแพร่ไปในสื่อเดียวกัน No provision of the license may be predicated on any individual technology or style of interface สัญญาอนุญาตต้องเป็นกลางทางเทคโนโลยี ไม่มีบทบัญญัติในสัญญาอนุญาตที่ไม่ผูกกับเทคโนโลยีหรือรูปแบบอินเตอร์เฟสแบบใดแบบหนึ่ง 23/6/2003

Categories of Free and Non-Free Software 23/6/2003

ซอฟต์แวร์เสรี (Free Software) คำว่าซอฟต์แวร์เสรี (บางครั้งก็เรียกว่าฟรีซอฟต์แวร์) หมายถึง อิสรภาพในการใช้ซอฟต์แวร์นั้นๆ ในทุกๆ วัตถุประสงค์ ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาการทำงานของโปรแกรม การประยุกต์ซอฟต์แวร์ให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ การเผยแพร่ซ้ำและการเพิ่มขีดความสามารถในโปรแกรมและเผยแพร่โปรแกรมที่มีการปรับปรุงแล้วสู่สาธารณชนเพื่อประโยชน์ของประชาคมโดยรวม 23/6/2003

ซอฟต์แวร์สาธารณะ (Public domain software) ซอฟต์แวร์สาธารณะเป็นซอฟต์แวร์ที่ไม่มีลิขสิทธิ์ ในบางกรณีโปรแกรมกระทำการ (Executable Program) สามารถอยู่ใน Public Domain โดยไม่มีซอร์สโค้ดให้ ซึ่งไม่จำกัดว่าเป็นซอฟต์แวร์เสรี เพราะซอฟต์แวร์เสรีต้องสามารถเข้าถึงซอร์สโค้ดได้ 23/6/2003

Copylefted software Copylefted software เป็นซอฟต์แวร์เสรีที่มีข้อกำหนดเกี่ยวกับการเผยแพร่ซอฟต์แวร์นั้นๆ ว่า ผู้ที่ทำการดัดแปลงและเผยแพร่ซอฟต์แวร์ซ้ำ จะไม่สามารถตั้งข้อจำกัดในการใช้ซอฟต์แวร์นั้นๆ ได้ ซึ่งหมายความว่า ซอฟต์แวร์เสรีที่เป็น Copylefted software ถึงแม้จะมีการนำมาดัดแปลง ก็จะต้องยังคงเป็นซอฟต์แวร์เสรีอยู่ 23/6/2003

ฟรีแวร์ (Freeware) ฟรีแวร์มักจะใช้กับชุดของซอฟต์แวร์ที่อนุญาตให้เผยแพร่ซ้ำได้แต่ไม่สามารถดัดแปลงซอฟต์แวร์ได้ ฟรีแวร์จะไม่ให้ซอร์สโค้ด ซึ่งซอฟต์แวร์ในลักษณะนี้จะไม่ใช่ซอฟต์แวร์เสรี 23/6/2003

แชร์แวร์ (Shareware) แชร์แวร์ เป็นซอฟต์แวร์ที่มาพร้อมกับการอนุญาตอให้ผู้ใช้สามารถเผยแพร่ซ้ำซอฟต์แวร์นั้นๆ แต่ผู้ที่ใช้ซอฟต์แวร์นั้นต่อจะต้องจ่ายค่าสัญญาอนุญาต แชร์แวร์ไม่ใช่ซอฟต์แวร์เสรีหรือแม้แต่กึ่งซอฟต์แวร์เสรีโดยส่วนใหญ่ แชร์แวร์จะไม่ให้ซอร์สโค้ด 23/6/2003

ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ (Commercial Software) ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาโดยธุรกิจซึ่งมีจุดมุ่งหมายในการหารายได้จากผู้ใช้ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ กับ ซอฟต์แวร์ให้ใช้สิทธิ์ ไม่เหมือนกัน โดยซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ส่วนใหญ่เป็นซอฟต์แวร์ที่ให้สิทธิ์การใช้แต่ก็มีบ้างที่เป็นซอฟต์แวร์เสรีเชิงธุรกิจ และก็มีบ้างที่ไม่ใช่ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์และไม่ใช่ซอฟต์แวร์เสรี 23/6/2003

สัญญาอนุญาต(License) ปัจจุบันมีข้อสัญญาอนุญาตมากมายที่สามารถจำแนกออกเป็นกลุ่มๆ ได้ ที่เป็นสัญญาอนุญาตพื้นฐานและเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางได้แก่ The GNU General Public License (GPL) The GNU Library or "Lesser" Public License (LGPL) The BSD license The MIT license The Artistic license The Mozilla Public License v. 1.0 (MPL) 23/6/2003

ข้อแนะนำสำหรับสัญญาอนุญาต OSS ที่เหมาะสมกับความต้องการ เงื่อนไข ประเภทสัญญาอนุญาตที่เสนอ ถ้าต้องการซอร์สโค้ดที่ดัดแปลง GPL หรือ LGPL ถ้าไม่ต้องการซอร์สโค้ดที่ถูกดัดแปลง (เก็บการดัดแปลงไว้เป็นส่วนตัว) X หรือ Apache ถ้ายอมให้รวมกับซอฟต์แวร์อื่น LGPL (ถ้าต้องการซอร์สโค้ดที่ถูกดัดแปลง), X หรือ Apache (ถ้าไม่ต้องการซอร์ส โค้ดที่ถูกดัดแปลง) ถ้าต้องการขายเป็นสัญญาอนุญาตเชิงพาณิชย์ซึ่งไม่ใช่โอเพนซอร์ส สัญญาอนุญาตแบบควบ (GPL + สัญญาอนุญาตเชิงพาณิชย์) ถ้าต้องการสิทธิพิเศษ ไม่ใช่โอเพนซอร์ส 23/6/2003

ตารางเปรียบเทียบลักษณะสัญญาอนุญาตแบบต่างๆ GPL LGPL BSD NPL MPL PD สามารถรวมกับซอฟต์แวร์ที่ไม่ฟรี N Y การดัดแปลงสามารถเก็บไว้ได้และไม่ย้อนกลับมายังผู้พัฒนาซอฟต์แวร์เดิม สามารถให้สัญญาอนุญาตซ้ำ ผู้ถือลิขสิทธิ์เดิมมีสิทธิพิเศษเหนือการดัดแปลงแก้ไข รวมกับซอฟต์แวร์อนุญาตให้สิทธิ์และเผยแพร่ซ้ำ รวมกับซอฟต์แวร์GPL และเผยแพร่ซ้ำ ต้องแบ่งปันซอร์สของรุ่นเผยแพร่ซ้ำ 23/6/2003

ตัวอย่าง License GPL : Emacs LGPL : C Library [can include in product] X, BSD, Apache [gov. own; approx. public domain] Artistic : Perl [non-sale, but can sell if others] MPL : Mozilla [no allowing Netscape to re-distribution the mod.] NPL : Netscape [allow Netscape to re-distribution the mod.] 23/6/2003

สัญญาอนุญาต(2) The Qt Public License (QPL) The IBM Public License The MITRE Collaborative Virtual Workspace License (CVW License) The Ricoh Source Code Public License The Python license (CNRI Python License) The Python Software Foundation License The zlib/libpng license The Apache Software License The Vovida Software License v. 1.0 The Sun Industry Standards Source License (SISSL) The Intel Open Source License 23/6/2003

สัญญาอนุญาต(3) The Mozilla Public License 1.1 (MPL 1.1) The Jabber Open Source License The Nokia Open Source License (NOKOS License) Version 1.0a The Sleepycat License The Nethack License The Common Public License The Apple Public Source License The X.Net License The Sun Public License 23/6/2003

สัญญาอนุญาต(4) The Effiel Forums License The W3C License The Motosoto License The Open Group Test Suite License The Zope Public License The zlib/libpng License The Academic Free License The Attribution Assurance License 23/6/2003

สามารถดูรายละเอียดได้ที่ http://www.gnu.org/ http://www.opensource.org/ http://conferences.oreillynet.com/os2002/ http://www.slat.org/project/legal/GNU_GPL_Chinese http://www.gnu.org/licenses/translations.zh.html 23/6/2003

ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส Linux distribution OpenOffice PHP-Nuke Perl PHP Apache XML gdb MySQL PostgreSQL JAVA Python BIND Sendmail gcc gnome 23/6/2003

Open Source Operating Systems Unix Many Flavors of Linux Free BSD Others 23/6/2003

Some Linux Distributions Red Hat 23/6/2003

Open Source Applications 23/6/2003

Zope is a leading open source application server, specializing in content management, portals, and custom applications. Zope enables teams to collaborate in the creation and management of dynamic web-based business applications such as intranets and portals. 23/6/2003

OpenOffice.org: Mission Statement To create, as a community, the leading international office suite that will run on all major platforms and provide access to all functionality and data through open- component based APIs and an XML- based file format. 23/6/2003

Netscape is the base code for Mozilla! Mozilla is an open-source web browser and toolkit, designed for standards compliance, performance and portability. Netscape is the base code for Mozilla! 23/6/2003

What is the GIMP The GIMP is the GNU Image Manipulation Program What is the GIMP The GIMP is the GNU Image Manipulation Program. It is a freely distributed piece of software suitable for such tasks as photo retouching, image composition and image authoring. We also try to provide as much information about the GIMP community and related projects as possible. 23/6/2003

1995: The Java Technology Revolution Begins Sun introduces the first universal software platform, designed from the ground up for the Internet and corporate intranets. Java technology enables developers to write applications once to run on any computer. 23/6/2003

Python is an interpreted, interactive, object-oriented programming language. It is often compared to Tcl, Perl, Scheme or Java. Python combines remarkable power with very clear syntax. Python is also usable as an extension language for applications that need a programmable interface. 23/6/2003

What is PHP? PHP is a widely-used general- purpose scripting language that is especially suited for Web development and can be embedded into HTML. 23/6/2003

Apache Web Server The Apache Software Foundation provides support for the Apache community of open-source software projects. We consider ourselves not simply a group of projects sharing a server, but rather a community of developers and users. 23/6/2003

Samba is an Open Source/Free Software suite that provides seamless file and print services to SMB/CIFS clients. Samba is freely available under the GNU General Public License. 23/6/2003

MySQL is the world's most popular Open Source Database, designed for speed, power and precision in mission critical, heavy load use. MySQL AB is the company owned by the MySQL founders. 23/6/2003

Community Involvement 23/6/2003

The future of Open Source The future of Open Source is growing dramatically in all aspects of the computing community. From enterprise implementation to the desktop, Linux and others are gaining acceptance for reliability, cost effectivness and other benefits. 23/6/2003

Recent Headlines Is Linux breaking Microsoft's grip? By Robert Lemos Special to ZDNet News November 4, 2002, 5:02 AM PT Open-source software gave Microsoft a one-two punch this week, with the European Union and an African nonprofit educational organization showing preference for Linux systems. 23/6/2003

The Chronicle of Higher Education Monday November 4th 2002 Citing Security Risks, U. of California at Santa Barbara Bans Windows 2000 on Residential Network By BROCK READ The Chronicle of Higher Education Monday November 4th 2002 23/6/2003

23/6/2003

โอเพนซอร์สในบางประเทศ ฟิลิปปินส์: Bayanihan Linux (based on RH 7.3) ELGU (tax collection, real-estate property management, e-business) 10 -> 100 -> 1,600 แผนปฏิบัติการโอเพนซอร์ส 2003 เวียดนาม: RedHat Vietnam Edition (based on RH 7.1) Vietkey Linux 23/6/2003

โอเพนซอร์สในบางประเทศ จีน: YangFan, Qihang, RedFlag ญี่ปุ่น: METI เริ่มโครงการทดลองใช้โอเพนซอร์สใน สำนักงาน Sharp, Fujitsu, Toshiba, IBM, ... Turbo Linux, Vine Linux, ... เกาหลี: โอเพนซอร์สในสำนักงานของรัฐ Hancom Linux (office suite in Sharp Zaurus) 23/6/2003

สมาพันธ์ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส (TOSF.org) จุดประสงค์: ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาซอฟต์แวร์โอเพน ซอร์ส (project hosting, จัดประกวดซอฟต์แวร์, คลัง ซอฟต์แวร์, เป็นต้น) ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้งานซอฟต์แวร์โอเพน ซอร์ส (สำหรับทั้งผู้ใช้ และผู้พัฒนาต่อยอด) สร้างความเข้าใจและเป็นแหล่งข้อมูลข่างสาร (คู่มือ, การฝึกอบรม, เป็นต้น) เสนอแนะกรอบการจัดซื้อซอฟต์แวร์ใหม่ 23/6/2003

Open Collaboration for Software Development NSC IT2000 IT2010 WS on TOSS TIS-620 (86) OTN OpenTLE.org WTT (92) ZzzThai TLWG TLUG TOSF.org OSS/ICT WG Thai Sort Thai Locale Hospital-OS ORCHID National Font OSS Project SWATH IANA OCR Corpus LEXiTRON 95 96 98 03 00 01 99 02 97 Kaiwal Linux LinuxSIS LinuxTLE Ziif Linux iCafe Linux Burapha Linux OfficeTLE Payoon Linux Grand Linux Pladao Liberta Linux 23/6/2003

OSS Ring AOSSC VOSSA Vietnam Yangfan&Qihang China LUGS Singapore AIST&IPA Japan ALDA Korea OSSF Chinese Taipei TOSF&OSS/ICT-WG Thailand ASTI Philippines PIKOM&MNCC&AOSC Malaysia 23/6/2003

Everywhere (in Asia) AOSS Collaboration Software Bank Network OSS for business Symposiam Asia OSS Community 23/6/2003

ลินุกซ์สัญชาติไทย Phayoon Linux, Liberta Linux, etc. 23/6/2003

www.opentle.org โครงการทะเล (T-LE Project) ลินุกซ์ทะเล และ ออฟฟิศทะเล Thai Language Extension (TLE) TLE อ่านว่า /ta-lé/ หรือ /ทะ-เล/ ลินุกซ์ทะเล และ ออฟฟิศทะเล www.opentle.org 23/6/2003

ลินุกซ์ทะเล (เช่นเดียวกับ Microsoft Windows) 23/6/2003

23/6/2003

23/6/2003

23/6/2003

23/6/2003

23/6/2003

23/6/2003

23/6/2003

LinuxTLE 5.0 Simple Installation Full GUI for installation and configuration GUI partitioning tool (YeST2 from Suse) Uninstall Easy-to-use Desktop QuickLogin AtHome FontGet One-App-One-Task Email: evolution Browser: mozilla Office Suite: OfficeTLE Print in Mozilla Xprint OfficeTLE ps-print Etc. 23/6/2003

ออฟฟิศทะเล (เช่นเดียวกับ Microsoft Office) Version Based Distro Released OfficeTLE alpha OpenOffice.org b-633 Oct 2000 OfficeTLE alpha1 OpenOffice.org b-633 Mar 2001 OfficeTLE alpha2 OpenOffice.org b-633 Dec 2001 OfficeTLE beta OpenOffice.org 1.0 Jun 2002 OfficeTLE beta 2 OpenOffice.org 1.0 Jul 2002 OfficeTLE 1.0.2 OpenOffice.org 1.0 Apr 13,2003 23/6/2003

23/6/2003

23/6/2003

23/6/2003

23/6/2003

บูรพาลีนุกซ์ http://www.buraphalinux.org 23/6/2003

บูรพาลีนุกซ์ เวอร์ชั่น 5 KDE 3.x, Qt 3.1.2 PostgreSQL 7.3.2 , MySQL 3.23.56 Kernel 2.4.20 XFree86 4.3.0 glibc 2.3.1 Others base on Slackware 9 23/6/2003

แนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของไทยโดยใช้ โอเพนซอร์ส 23/6/2003

แนวโน้มของการใช้งานโอเพนซอร์ส ซอฟต์แวร์ประยุกต์ในปัจจุบันเป็นแบบ Web Application นโยบาย IT 2010 E-Government E-Industry E-Society E-Education E-Commerce 23/6/2003

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 ยุทธศาสตร์: การพัฒนาอุตสาหกรรม ICT เพื่อให้เป็นผู้นำในภูมิภาค การใช้ ICT เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยและ สังคมไทย การปฏิรูปและการสร้างศักยภาพการวิจัยและพัฒนา ICT การยกระดับศักยภาพพื้นฐานของสังคมไทยเพื่อการแข่งขัน ในอนาคต การพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการเพื่อมุ่งขยายตลาด ต่างประเทศ การส่งเสริมผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมใช้ ICT การนำ ICT มาใช้ประโยชน์ในการบริหารและการให้บริการ ของภาครัฐ 23/6/2003

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ. ศ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 ที่เกี่ยวข้องกับโอเพนซอร์ส ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาอุตสาหกรรม ICT เพื่อให้เป็นผู้นำในภูมิภาค เป้าหมาย 5. ให้มีการใช้Opensorce software ควบคู่กับซอฟต์แวร์ที่ผลิตในประเทศเทียบมูลค่าไม่ ต่ำกว่ารัอยละ 50ของมูลค่าซอฟต์แวร์รวมที่ใช้ในแต่ละปี ยุทธศาสตร์ที่2 การพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการเพื่อมุ่งขยายตลาดต่างประเทศ แผนงานและกิจกรรม 3.3.4 การพัฒนาซอฟต์แวร์ในลักษณะOpensource สำหรับเป็นรากฐานให้อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทยนำไป ศึกษาและพัฒนาเพื่อให้เกิดประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ต่อไ 23/6/2003

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ. ศ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 ที่เกี่ยวข้องกับโอเพนซอร์ส ยุทธศาสตร์ที่ 4 การยกระดับศักยภาพพื้นฐานของสังคมไทยเพื่อการแข่งขันในอนาคต เป้าหมาย 4.1.1 บรรจุวิชาเกี่ยวกับการเรีบนรู้และการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องมือสื่อสารให้แก่ผู้รับ การศึกษาในทุกระดับชั้นทั้งที่จัดให้เป็นหลักสูตรหรือวิชาที่สอน รวมทั้งการฝึกหัดใช้ตามความ เหมาะสมโดยหลักสูตรจะเน้นตามเทคโนโลยีเปิดรวมทั้ง Opensource 4.2 ให้องค์กรภาครัฐส่งเสริมและสนับสนุนการให้ภาคเอกชนเร่งรัดผลิตอุปกรณ์เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารและซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ ในราคาประหยัด อาทิ ซอฟต์แวร์กลางทาง บัญชี ทั้งนี้ให้มีปริมาณการผลิตที่สามารถรองรับความต้องการของตลาดและทันต่อความก้าวหน้า ของเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ในราคาที่เหมาะสมกับการครองชีพ 23/6/2003

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ. ศ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 ที่เกี่ยวข้องกับโอเพนซอร์ส ยุทธศาสตร์ที่ 7 การนำ ICT มาใช้ประโยชน์ในการบริหารและ การให้บริการของภาครัฐ เป้าหมาย 9.มีซอฟต์แวร์ระบบบริหารขั้นพื้นฐาน ได้แก่ระบบสารบรรณ บริหารบุคคล งบประมาณ การเงิน บัญชี พัสดุ ที่ใช้กับหน่วยงานภาครัฐได้เป็นการทั่วไป ภาย มนปี 2549 แผนงานและกิจกรรม 4. พัฒนาระบบซอฟต์แวร์ที่ง่ายต่อความเข้าใจและการใช้โดยมิได้มีการลงทุน ซอฟต์แวร์ระบบสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน ที่มีมาตราฐานเดียวกันให้เป็น ซอฟต์แวร์กลางของรัฐ ในกรณีที่ซื้อซอฟต์แวร์สำเร็จ(Software Package) ให้มี การซื้อลิขสิทธ์แบบรวมได้ตามความจำเป็น หากเป็นไปได้ ให้ใช้ระบบซอฟต์แวร์ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีไทย และพัฒนาขึ้นโดยผู้ประกอบการไทย หรือต่อยอดจาก ซอฟต์แวร์ Opensource ซึ่งเป็นเทคโบโลยีเปิดสำหรับทุกคน 7.4.4 ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศและซอฟต์แวร์รหัสเปิด 23/6/2003

5.แผนงานที่เป็นพลังขับเคลื่อนที่สำคัญที่ต้อง เร่งดำเนินการ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 ที่เกี่ยวข้องกับโอเพนซอร์ส 5.แผนงานที่เป็นพลังขับเคลื่อนที่สำคัญที่ต้อง เร่งดำเนินการ 5.1.1.2 โครงการจัดตั้งองค์กรส่งเสริมการพัฒนาซอฟต์แวร์ แบบ Opensource โดยทำหน้าที่สนับสนุนการพัฒนา ซอฟต์แวร์แบบ Opensource ในประเทศไทย รวมถึงเป็น คลังเก็บรวบรวมซอฟต์แวร์แบบ Opensource ที่จะเป็น ประโยชน์กับการใช้งานส่วนของทั้งภาครัฐบาลและ ภาคเอกชน และเป็นคลังความรู้ที่จะให้คำปรึกษากับ หน่วยงานต่างๆที่ต้องการนำซอฟต์แวร์นั้นไปใช้ 23/6/2003

การใช้งานโอเพนซอร์สในปัจจุบัน การใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สจัดทำเป็น Internet Server OS Linux Web server Apache Mail sendmail DNS named 23/6/2003

การใช้งานโอเพนซอร์สในปัจจุบัน การใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สจัดทำเป็น Internet Server Network Nagios ect. Editor emacs DBMS PostgreSQL, MySQL Proxy Server Squid Firewall Firewall Builder, Shorewall, Guarddog 23/6/2003

การใช้งานโอเพนซอร์สในปัจจุบัน การใช้ลีนุกซ์แบบ Desktop ลีนุกซ์ทะเล, บูรพาลีนุกซ์ ซอฟต์แวร์พื้นฐานสำหรับการใช้งานทั่วไป โดยเฉพาะด้านสื่อผสม ซอฟต์แวร์ดูหนังในลีนุกส์ ไซน์ (Xine) เอ็มเพลเยอร์ (Mplayer) ซอฟต์แวร์ฟังเพลงในลีนุกซ์ในรูปแบบออดิโอ (audio) และเอ็มพีทรี (mp3) Winamp for Linux XMMS – X multimedia system Xamp SnackAmp 23/6/2003

การใช้งานโอเพนซอร์สในปัจจุบัน ซอฟต์แวร์สร้างและตกแต่งภาพในลีนุกซ์ Xnview, Gqview ซอฟต์แวร์จัดการแฟ้มข้อมูลในลีนุกซ์ Konqueror ซอฟต์แวร์ส่งแฟกซ์ HylaFax, Fax2Send, Efax ซอฟต์แวร์ป้องกันไวรัสในลีนุกซ์ - Dr.Web for Linux, RAV Antivirus ซอฟต์แวร์ห้องสนทนาในลีนุกซ์ Xchat 23/6/2003

การใช้งานโอเพนซอร์สในปัจจุบัน ซอฟต์แวร์ชุดสำนักงาน โปรแกรมประมวลคำ โปรแกรมตารางคำนวณ โปรแกรมนำเสนอ ปลาดาว ออฟฟิศทะเล OpenOffice 23/6/2003

การพัฒนาระบบงานด้วย OSS Script Language PHP, Perl, Python, Java,TCL/TK, Qt DBMS PostgreSQL, MySQL Development Tool ArgoUML (แทน Rational Rose) MyProject (แทน MS Project) Development environments Emacs & Java SDK Free closed software Sun ONE (Forte) Community Edition 23/6/2003

การพัฒนาระบบงานด้วย OSS Groupware PHP groupware Content Management Software phpnuke, postnuke, plone Web Service Java and Web Service : JAXM, JAX-RPC, JWSDP 23/6/2003

การดำเนินการของกระทรวง ICTเกี่ยวกับ OSS มีคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส จัดตั้งองค์กรส่งเสริมการพัฒนาซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส เป็นหน่วยงาน ภายใต้ TOT จัดตั้งคลังซอฟต์แวร์แบบโอเพนซอร์ส ให้ดำเนินการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบโอเพนซอร์ส ในภาครัฐนำล่อง เช่น ซอฟต์แวร์ e-Government กำหนด Action plan ในการส่งเสริมการใช้งานซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส 23/6/2003

ตัวอย่างการพัฒนาโอเพนซอร์สขององค์กร The State of Hawaii Intranet Portal 23/6/2003

Tool Choice Progression 23/6/2003

Commerical vs. Open Source Solutions Commercial Choice Cost Open Source Choice Microsoft Windows 2000 Server $850 Mandrake & RedHat Linux $0 Commercial Web Server Apache HTTP Server & ZServer Relational Database $1,350 MySQL Scripting Language PHP, Python, & Zope Commercial Portal Product $4,000 Zope + CMF + Plone Office Productivity Applications $560 OpenOffice.org & Abiword Database Integration Engine $1,200 Programming IDE $570 jEdit Still Graphics Application $600 Pixia Portal Client Access License SQL Client Access License $72 Client Access License Single Server Config Cost per developer seat 20,000 Client Licenses $7,650 $1,730 $2,880,000 10,000 Client Licenses 23/6/2003

Intranet Portal Components 23/6/2003

Intranet Portal Home Page 23/6/2003

หลักการในการคัดเลือกเครื่องมือ ประเภทโอเพนซอร์สมาใช้ในการพัฒนา ความเสถียรของซอฟต์แวร์ ความเข้มแข็งของชุมชนที่ร่วมกันพัฒนา มาตราฐาน(standard) 23/6/2003

แนวโน้ม/ทิศทางการพัฒนา OSS กับตลาดการแข่งขัน แรงผลักดันจากแผนแม่บทไอซีที IT2010 บทบาทของกระทรวงไอซีที ความเข้าใจเรื่อง OSS การลดค่าใช้จ่ายขององค์กร ภาครัฐ มีนโยบายจัดทำซอฟต์แวร์กลาง เกิดธุรกิจทางด้าน OSS อย่างจริงจัง ให้บริการคำปรึกษา ฝึกอบรม พัฒนาระบบงาน 23/6/2003

ข้อดี-ข้อเสียของ OSS ข้อดี สามารถกำหนด License ใหม่ได้ เทคโนโลยี: ต่อยอด, นวัตกรรม, มาตรฐาน, ความปลอดภัย เศรษฐกิจ: ประหยัดงบประมาณ, ลดต้นทุน การผลิต สังคม: ลดช่องว่างของการเข้าถึงข่าวสาร, ป้องกันการผูกขาด บุคลากร: พัฒนาบุคลากร, โปรแกรมเมอร์ จริยธรรม: ลดปัญหาซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธิ์ สามารถกำหนด License ใหม่ได้ 23/6/2003

ข้อดี-ข้อเสียของ OSS ข้อดี ข้อเสีย ซอฟต์แวร์ราคาลดลง มีหลากหลาย ผู้ใช้ขาดความเชื่อมั่น การรักษาความปลอดภัย ยังมองต่างมุม เอกสารที่เกี่ยวข้องเผยแพร่ยังมีน้อยมาก 23/6/2003

ความพร้อมการใช้งาน โอเพนซอร์สขององค์กร องค์กรต้องกำหนดนโยบายการใช้งานให้ชัดเจน หน่วยงานหลักต้องทำเป็นตัวอย่าง หน่วยงานที่เป็นผู้พัฒนาโอเพนซอร์สต้องสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ใช้งาน ต้องมีการจัดทำเอกสารคู่มือเผยแพร่อย่างแพร่หลาย มีระบบการฝึกอบบรมที่ดี ผลักดันให้มีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง 23/6/2003

ผลที่เกิดจากซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ส่วนแบ่งทางการตลาด Apache – 60% Linux บน Server 25-30% (คาดการว่าในปี 2006 จะเพิ่มเป็น 50%) Linux บน desktop เป็นทางเลือใหม่ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ ซึ่งทำให้ต้นทุนในการพัฒนาซอฟต์แวร์ต่ำลง 23/6/2003

แหล่งค้นหาซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส google.com freshmeat.net tucows.com sourceforge.net cgi- scripts 23/6/2003

Google: The Gateway to Information i.e. The Internet Help Desk 23/6/2003

Freshmeat: An Open Source Repository 23/6/2003

Open Source includes big (IBM) players - as well as little ones 23/6/2003

Source Forge: A Repository Of Open Source Tools and Information 23/6/2003

Software for many platforms 23/6/2003

An archive of cgi scripts (common gateway Interface) 23/6/2003

คำถาม ? 23/6/2003