งานวิจัยแบบสหสาขาวิชาการ Area based Commodity based Issue based กลุ่มวิจัย (Unit หรือ Cluster)
Area based Highland Rain-fed upland Rain-fed lowland Irrigated lowland
Commodity based ลำไย ชา กาแฟ กล้วยไม้ พริก แมลงอุตสาหกรรม ระบบการผลิตสัตว์
Issue based เศรษฐกิจพอเพียง การลดปัญหาความยากจน สิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากร อาหารปลอดภัย เกษตรอินทรีย์ การอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ความหลากหลายชีวภาพพืช/สัตว์ในท้องถิ่น
ประเด็นการพิจารณา ทิศทางและการใช้ประโยชน์ ตอบสนองต่อผู้ใช้ (demand driven interdisciplinary research) สร้างความเข้าใจและพัฒนาองค์ความรู้ ชี้นำสังคมและสร้างนวัตกรรมใหม่ ความสมดุลของเป้าหมาย (เพื่อการตีพิมพ์ VS. เพื่อการส่งเสริมและพัฒนา) ความชัดเจนและเหมาะสมในการจัดสรรความรับผิดชอบและผลงาน การบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพ การประสานความร่วมมือข้ามหน่วยงานและการสร้างเครือข่าย การจัดการและการสื่อสาร กลไกการประกันคุณภาพงานวิจัย เช่น สกว.
งานวิจัยสหสาขาวิชาการของคณะที่จะมีผลกระทบในวงกว้าง เกษตรและการจัดการทรัพยากรที่สูง (ภาควิชาปฐพี และภาควิชาพืชสวน) Value chain ของสินค้าเกษตรหลักของภาคเหนือ: ข้าว ไม้ผล พืชผัก ไม้ดอก สมุนไพร สัตว์ (รศ.ดร.อรรถชัย) เศรษฐกิจพอเพียงกับการลดปัญหาความยากจน (ผศ.ดร.อาวรณ์) การจัดการทรัพยากรดิน น้ำ ป่า (ดร.ชาญชัย) เกษตรยั่งยืนและชุมชนเข้มแข็ง (อ.พฤกษ์, รศ.ดร.เบญจพรรณ) การแปรรูปวัสดุเศษเหลือทางเกษตร; ปุ๋ย อาหารสัตว์ (รศ.ดร.บุญล้อม, รศ.ดร.สมพร) มาตรฐานการผลิต (การลดการใช้สารเคมีในระบบการผลิตพืชและสัตว์) (รศ.ดร.จริยา, รศ.ดร.สุชน) ความอุดมสมบูรณ์ของดิน (ดร.รจเร) กระบวนการเรียนรู้ของชุมชน (รศ.ดร.รุจ) ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและสัตว์ (รศ.ดร.ดำเนิน, ดร.ศุภมิตร) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการวางแผนทางด้านการเกษตรและการจัดการทรัพยากร (ดร.เมธี) การจัดการระบบฟาร์มสัตว์ปีกเพื่อลดการระบาดไข้หวัดนก (รศ.ดร.สุชน)
หน้าที่ของผู้ประสานงาน สร้างทีมงานเพื่อวางกรอบวิจัย กำหนดยุทธศาสตร์การวิจัย ประสานงานและสร้างเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น