รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
Advertisements

หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
ชื่อ-นามสกุลนักศึกษา รหัสนักศึกษา เลขที่ CS99
โครงการ การพัฒนาอีคอร์สใน รายวิชาศึกษาสังเกตและการมี ส่วนร่วม Development of E-course on Observation and Participation in.
เพื่อรับการประเมินภายนอก
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ.๖ รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Report) ดร.ชาติชาย โขนงนุช.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สรุปการปฎิบัติสหกิจศึกษา
รายงานผลการปฏิบัติงาน
สรุปผลการปฏิบัติสหกิจศึกษา สถานประกอบการประเภทหน่วยงานราชการ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
นำเสนอผลงาน กลุ่มที่ 5 ศพพ. (ศูนย์พักพิง)
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
ฐานข้อมูล Data Base.
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
Cooperative Education
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)
การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานราชการ ณ ส่วนแผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ์ สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 เชียงใหม่
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ พ. ศ ( มคอ.) เฉลิม วรา วิทย์
การฝึกงาน รายวิชาในกลุ่มวิชาเอกบังคับของหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา การฝึกปฏิบัติงานจริง จะทำให้นิสิตได้มีโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
โดย ดวงวรพร สิทธิเวทย์ ภารกิจ นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย (Office of Research Policy and Strategy)
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ความพึงพอใจของสถานประกอบการ ที่มีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของนักศึกษาฝึกงาน ปวส.1 วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification) (มคอ. ๔) (Field Experience Specification) ประสาทพร สมิตะมาน ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประสบการณ์ภาคสนาม หมายรวมถึง การทำงานภาคสนาม การฝึกงานวิชาชีพตามสาขาที่เรียน ซึ่งอาจเป็นการฝึกงานในสถานประกอบการ โรงพยาบาล คลีนิก ห้องปฏิบัติการ หรือในหน่วยงานของภาครัฐหรือเอกชน โดยการฝึกงาน และฝึกปฏิบัติในภาคสนาม เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการศึกษา

ข้อสำคัญของการเตรียมประสบการณ์ภาคสนาม มีการวางแผนให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่กำหนดไว้ใน รายละเอียดของหลักสูตร เตรียมข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการในรายละเอียดเกี่ยวกับการ ฝึกงาน โดยจัดเตรียมความพร้อมทางด้านกิจกรรมที่นักศึกษา จะต้องออกฝึกงาน ภาคสนาม หรือสหกิจศึกษา รวมทั้ง สถานที่พักและองค์ประกอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

สาระสำคัญที่ต้องเตรียมมี ดังนี้ 3.1 วัตถุประสงค์และรายละเอียดของการดำเนินการ ของกิจกรรมนั้น ๆ ไว้อย่างชัดเจน 3.2 ให้รายละเอียดเกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจที่ นักศึกษาควรจะได้รับจากการออกฝึกงาน 3.3 คุณลักษณะอื่น ๆ ที่นักศึกษาจะได้รับการ พัฒนาให้ประสบความสำเร็จตามจุดมุ่งหมาย 3.4 หารือเพื่อเตรียมกระบวนการ หรือวิธีการในการ ปลูกฝังทักษะต่าง ๆ กับนักศึกษากับผู้ควบคุม ภาคสนามร่วมกับอาจารย์นิเทศก์ 3.5 ตกลงเกณฑ์การวัดและประเมินผลนักศึกษาใน กลุ่มผู้เกี่ยวข้อง 4. การประเมินการดำเนินการตามรายละเอียดของ ประสบการณ์ภาคสนาม (ดู มคอ. 6 ด้วย)

รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม ประกอบด้วย 7 หมวดดังนี้ หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป หมวิดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ หมวดที่ 4 ลักษณะและการดำเนินการ หมวดที่ 5 การวางแผนและการเตรียมการ หมวดที่ 6 การประเมินนักศึกษา หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของ การฝึกประสบการณ์ภาคสนาม

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป รหัสและชื่อรายวิชา จำนวนหน่วยกิต หรือจำนวนชั่วโมง หลักสูตรและประเภทของรายวิชา อาจารย์ผู้รับผิดชอบ / อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่กำหนดให้มีการฝึกประสบการณ์ภาคสนามตามแผนการศึกษาของหลักสูตร วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาประสบการณ์ภาคสนามครั้งล่าสุด

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของประสบการณ์ภาคสนาม - เพื่อสร้างประสบการณ์วิชาชีพในสถานการณ์ที่ นักศึกษาต้องพบในการประกอบอาชีพจริง 2. วัตถุประสงค์ของการพัฒนาหรือปรับปรุงประสบการณ์ ภาคสนาม - เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจและมีทัศนคติที่ดี ต่ออาชีพ - เพื่อให้นักศึกษาได้ปรับตัวให้เข้ากับแวดวงของการ ประกอบอาชีพ

หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ มี 5 ด้าน ได้แก่ 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ เทคโนโลยีสารสนเทศ

ข้อมูลที่แสดงผลการเรียนรู้แต่ละด้านจากประสบการณ์ภาคสนาม ความรู้ หรือทักษะที่ต้องการพัฒนา กระบวนการ / กิจกรรมต่าง ๆ ที่ต้องการจะพัฒนา วิธีการที่จะใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้

หมวดที่ 4 ลักษณะและการดำเนินการ หมวดที่ 4 ลักษณะและการดำเนินการ 1. คำอธิบายทั่วไปของประสบการณ์ภาคสนาม หรือคำอธิบายรายวิชา 2. กิจกรรมของนักศึกษา – ตำแหน่งงาน และ แผนปฏิบัติงานของนักศึกษา 3. งาน หรือรายงานที่ได้รับมอบหมาย 4. การติดตามผลการเรียนรู้การฝึกประสบการณ์ ภาคสนาม / การนิเทศงาน และการประมวลผล

หน้าที่ ความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยง หน้าที่ ความรับผิดชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา / อาจารย์นิเทศก์ 7. การเตรียมการในการแนะแนวและช่วยเหลือนักศึกษา 8. สิ่งอำนวยความสะดวก และการสนับสนุนที่ต้องการจากสถานประกอบการ

หมวดที่ 5 การวางแผนและการเตรียมการ หมวดที่ 5 การวางแผนและการเตรียมการ 1. การกำหนดสถานที่ฝึก 2. การเตรียมนักศึกษา – จัดรายวิชาเตรียมความ พร้อมสหกิจศึกษา 3. การเตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา / อาจารย์นิเทศก์ - ประชุมเพื่อมอบหมายงาน 4. การเตรียมพนักงานพี่เลี้ยงในสถานที่ฝึกงาน - ติดต่อประสานงาน และแจ้งแผนปฏิบัติงาน สหกิจศึกษา 5. การจัดการความเสี่ยง – จัดทำประกันอุบัติเหตุ

หมวดที่ 6 การประเมินนักศึกษา 1. หลักเกณฑ์การประเมิน – ผลสำเร็จของงาน ความรู้ ความสามารถ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ฯลฯ 2. กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา / พนักงานพี่เลี้ยง ร่วมกันประเมินกับอาจารย์นิเทศก์ 3. ความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยงต่อการประเมิน นักศึกษา / ให้คำแนะนำปรึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อ การปฏิบัติตน และปฏิบัติงาน 4. ความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบประสบการณ์ ภาคสนามต่อการประเมิน 5. การสรุปผลการประเมินที่แตกต่าง – ประเมินการปฏิบัติงานเป็นรายบุคคล - ประเมินในภาพรวมเพื่อวิเคราะห์ระบบการฝึก ปฏิบัติงาน

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการ ของการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 1. กระบวนการประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม - นักศึกษา นักศึกษาให้ข้อมูลหลังกลับจาก สถานประกอบการ (โดยใช้แบบประเมิน) - พนักงานพี่เลี้ยงหรือผู้ประกอบการ ใช้แบบ ประเมินผลนักศึกษา ให้คะแนน และให้ ข้อเสนอแนะ - อาจารย์นิเทศก์ที่ดูแลกิจกรรมภาคสนาม ใช้แบบ บันทึกการนิเทศงานสหกิจศึกษา - กลุ่มอื่น ๆ เช่น บัณฑิตจบใหม่ – ประเมินจากการ สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

กระบวนการทบทวนผลการประเมินและการวางแผนการ ปรับปรุง กระบวนการทบทวนผลการประเมินและการวางแผนการ ปรับปรุง อาจารย์ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกงานประชุม หารือ ร่วมกัน เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลจากการประเมิน และสรุปประเด็นต่าง ไ ที่ได้จากข้อมูลทั้งหมด เพื่อนำมาปรับปรุงการจัดการฝึกงานภาคสนาม กิจกรรมที่จัดให้นักศึกษา การวัดและประเมินผล ประสานงานเพื่อขอความร่วมมือจากสถานประกอบการ เพื่อวางแผนการฝึกปฏิบัติงานรุ่นต่อไป และเพื่อใช้ข้อมูลในการปรับปรุง หลักสูตรในระยะเวลาที่กำหนด

ขอบคุณครับ คำถาม ?