แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

สาระสำคัญของการสัมมนา
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
เพื่อรับการประเมินภายนอก
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การประกันคุณภาพการศึกษา
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การนำระบบPDCAการประกันคุณภาพ การศึกษาไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมของนิสิต
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
แนวทางปฏิบัติและการเตรียมความพร้อม การถ่ายโอนภารกิจ
ที่โครงการงบประมา ณ ( บาท ) กลุ่มเป้าหม าย 5 โครงการส่งเสริมสวัสดิภาพเด็ก ปฐมวัยในชุมชน 21,000, เรื่อง 1 หลักสูตร มีทั้งสิ้น 7 โครงการ เป็นเงิน 148,655,200.
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
กลุ่มที่ 1.
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
๑. ด้านบริหารจัดการสถานศึกษา
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดอุดรธานี
โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)
การเตรียมความพร้อมกับการรองรับ การตรวจคุณภาพระบบใหม่ของห้องปฏิบัติการ
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสหกรณ์
เวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว
เรื่อง ปรับแก้ตารางสอน ภาคเรียนที่ 1/2554
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพ
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุข สิรินธร จังหวัดขอนแก่น

SCPKK.QA การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ของวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่นได้กำหนดให้มีคณะกรรมการ 3 ชุด ได้แก่ 1. คณะกรรมการอำนวยการ 2. คณะกรรมการดำเนินงาน และ 3. คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน โดยมีงานประกันคุณภาพการศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย เป็นหน่วยงานหลักในการประสานงานในเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย คณะกรรมการอำนวยการ เป็นคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยโดยตำแหน่ง ประกอบด้วย หัวหน้าฝ่ายและประธานหลักสูตรโดยมีผู้อำนวยการวิทยาลัยเป็นประธาน และหัวหน้าฝ่ายสนับสนุนวิชาการเป็นกรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ 1. กำหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามแผน 3. ควบคุมกำกับการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามแผน คณะกรรมการดำเนินงาน ประกอบด้วยตัวแทนจากทุกฝ่าย/หลักสูตรมีหน้าที่ 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานการประกันคุณภาพการศึกษา 2. วิเคราะห์ความเหมาะสมของมาตรฐาน ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อปรับให้สอดคล้องเหมาะสม 3. จัดทำคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา 4. จัดทำขั้นตอนการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาและแจ้งให้ทุกฝ่าย/หลักสูตร รับทราบ และปฏิบัติ 5. จัดระบบรวบรวมเอกสารหลักฐานการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อให้ง่ายต่อการประเมิน 6. จัดทำฐานข้อมูลผลการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย 7. ประเมินแผนปฏิบัติงานของแต่ละฝ่าย / หลักสูตร ว่ามีความสอดคล้องกับแนวทางการเสริมจุดแข็งและพัฒนาจุดอ่อนตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน และให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับแผนต่อคณะกรรมการบริหาร LOGO www.themegallery.com

SCPKK.QA 8. ประสานงานและติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา กับฝ่ายและหลักสูตรที่รับผิดชอบ 9. ประสานงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับหน่วยงานภายนอก 10. จัดทำรายงานการประเมินตนเองของวิทยาลัย 11. รายงานความคืบหน้าของการประกันคุณภาพการศึกษา ต่อคณะกรรมการอำนวยการ เมื่อมีการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ประกอบด้วยตัวแทนจากฝ่าย/หลักสูตรของวิทยาลัย ที่ได้รับการอบรมเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านการประเมินคุณภาพการศึกษา มีหน้าที่ 1. จัดทำแผนประเมินคุณภาพภายในของวิทยาลัย 2. กำหนดขั้นตอนการเตรียมการรองรับการประเมินคุณภาพภายในของฝ่าย / หน่วยที่เกี่ยวข้อง 3. เตรียมผู้ประเมินภายในของวิทยาลัยฯ ให้มีทักษะในการประเมิน 4. ชี้แจง แนะนำการจัดทำรายงานการประเมินตนเองแก่ผู้รับผิดชอบองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ให้จัดทำรายงานการประเมินตนเองได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม รวมทั้งจัดทำแบบฟอร์ม ตัวอย่างการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง ทั้งของแต่ละตัวบ่งชี้และรายงานภาพรวมของวิทยาลัย 5. ดำเนินการประเมินคุณภาพตามแผนที่กำหนด 6. สรุปและรายงานผลการประเมินต่อผู้รับการประเมินด้วยวาจา รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุงและพัฒนางานประกันคุณภาพการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น 7. จัดทำรายงานการประเมินคุณภาพของวิทยาลัย ภายใน 2 สัปดาห์ภายหลังการประเมิน LOGO www.themegallery.com

SCPKK.QA พัฒนาสู่ความ เป็นเลิศ LOGO แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น แต่งตั้งฝ่ายงานรับผิดชอบการประกันคุณภาพการศึกษา แต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา พัฒนาปรับปรุงมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ประเมิน จัดทำคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา จัดทำแผนพัฒนาและดำเนินงานพัฒนาวิทยาลัย จัดทำรายงานประเมินตนเอง ประเมินคุณภาพภายใน ขอรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดย สมศ. ไม่ผ่าน ผ่าน พัฒนาสู่ความ เป็นเลิศ คณะกรรมการดำเนินการ คณะกรรมดำเนินงาน คณะกรรมการประเมิน LOGO www.themegallery.com