สรุปสาระเวทีประชุม โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพครั้งที่ 7.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

-การหันไปสู่เศรษฐกิจการตลาด อย่างหนักแน่น
การชี้แนะสาธารณะด้านสุขภาพ (HEALTH ADVOCACY)
ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่จัดเก็บภาษี เพื่อส่งเสริมเสถียรภาพทาง การคลัง พัฒนาสังคม และรักษาสิ่งแวดล้อม พันธกิจ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี เพื่อรักษาเสถียรภาพทาง.
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
Business Economics for a Better World ถอดความโดย คุณประจวบ ตรีนิกร
Research Mapping.
แนวคิด ในการดำเนินงาน
โครงการวิจัยเรื่องความอยู่ดีมีสุขของประชากร ในประเทศกำลังพัฒนา
พัฒนาข้าราชการบรรจุใหม่อย่างเป็นระบบ (The Civil Service Academy)
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ยินดีต้อนรับ ท่านอธิบดีกรมอนามัย ดร
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
กิจกรรมขับเคลื่อน “ วาระชุมชน ”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
นโยบายด้านบริหาร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ประวัติการศึกษาไทย.
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
การวางแผนยุทธศาสตร์.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
การจัดการด้านข้อมูลและ งบประมาณด้านสุขภาพ นพ. อุกฤษฏ์ มิลินทางกูร สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพ แห่งชาติ ( สปรส.) 27 เมษายน 2548.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
โดย คุณมยุรี ผิว สุวรรณ. สุขภาพ - ภาวะของมนุษย์ที่ สมบูรณ์ทั้งกาย จิต ทางปัญญา และ สังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์ รวมอย่างสมดุล สุขภาพ - ภาวะของมนุษย์ที่
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอ ภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปสาระเวทีประชุม โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพครั้งที่ 7

สุขภาพ A state of complete physical, mental and social well-being and not merely the absence of disease or infirmity A state of complete physical, mental and social well-being and not merely the absence of disease or infirmity (WHO definition, 1948 )

สิ่งจำเป็นเบื้องต้นสำหรับสุขภาพ ภาวะแวดล้อม และทรัพยากรที่สำคัญต่อการมีสุขภาวะ ที่ดี ประกอบด้วย ภาวะแวดล้อม และทรัพยากรที่สำคัญต่อการมีสุขภาวะ ที่ดี ประกอบด้วย สันติสุข สันติสุข ที่อยู่อาศัย ที่อยู่อาศัย การศึกษา การศึกษา อาหาร อาหาร รายได้ รายได้ ระบบนิเวศที่มีเสถียรภาพ ระบบนิเวศที่มีเสถียรภาพ ทรัพยากรที่ยั่งยืน ทรัพยากรที่ยั่งยืน ความยุติธรรมและความเท่าเทียมในสังคม ความยุติธรรมและความเท่าเทียมในสังคม

การสร้างเสริมสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพเป็นกระบวนการพัฒนา ส่งเสริม ให้ประชาชนสามารถกำหนด และดูแลสุขภาพของ ตนเองได้ ในการบรรลุการอยู่ดีมีสุขทั้งทางกาย จิต สังคมทั้งในระดับปัจเจก และระดับกลุ่มคนนั้น การ ค้นหาแรงบันดาลใจ และการตอบสนองความต้องการที่ นำไปสู่การแก้ไข หรือจัดการกับสภาพแวดล้อมให้ เอื้ออำนวยต่อการบรรลุผลที่คาดหวังไว้เป็นสิ่งจำเป็น ดังนั้นสุขภาพในมิติใหม่จึงไม่ใช่เป็นจุดมุ่งหมายของ การดำรงชีวิต แต่เป็นต้นทุนในการดำรงชีวิต ภายใต้ แนวคิดนี้ที่สุขภาพเป็นต้นทุนในระดับบุคคล และสังคม ทำให้การสร้างเสริมสุขภาพไม่ควรจำกัดอยู่ในแวดวง สาธารณสุขอีกต่อไป แต่ได้ก้าวข้ามไปสู่กลุ่มคนที่ เกี่ยวข้องกับการค้นหาการดำรงชีวิตอย่างมีสุขภาวะที่ดี

กฎบัตรออตตาวา สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวย สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวย พัฒนาทักษะส่วนบุคคล พัฒนาทักษะส่วนบุคคล เสริมความเข้มแข็งของชุมชน เสริมความเข้มแข็งของชุมชน การปรับทิศทางการบริการด้านสาธารณสุข การปรับทิศทางการบริการด้านสาธารณสุข

การบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพ อย่างยั่งยืน สุขภาพขององค์กร คือ ตัวโรงพยาบาลเองและ ระบบบริหารจัดการของโรงพยาบาล การสร้าง ขวัญและกำลังใจ สร้างความมุ่งมั่น สร้างความ ท้าทาย สร้างค่านิยม และวัฒนธรรมการทำงาน ที่ดี สุขภาพขององค์กร คือ ตัวโรงพยาบาลเองและ ระบบบริหารจัดการของโรงพยาบาล การสร้าง ขวัญและกำลังใจ สร้างความมุ่งมั่น สร้างความ ท้าทาย สร้างค่านิยม และวัฒนธรรมการทำงาน ที่ดี ( นพ. ชื่น เตชามหาชัย ) ( นพ. ชื่น เตชามหาชัย )

กฎบัตรกรุงเทพ พันธมิตร 1. พันธมิตร 2. การพัฒนาศักยภาพ ทั้งการพัฒนานโยบาย ภาวะผู้นำ การปฏิบัติที่ดี การจัดการความรู้และ รู้เท่าทันสุขภาพ 2. การพัฒนาศักยภาพ ทั้งการพัฒนานโยบาย ภาวะผู้นำ การปฏิบัติที่ดี การจัดการความรู้และ รู้เท่าทันสุขภาพ 3. การสร้างกระแสสังคม 3. การสร้างกระแสสังคม 4. การลงทุนเพื่อสุขภาพ ทั้งด้านนโยบาย โครงสร้างพื้นฐาน และการปฏิบัติการ 4. การลงทุนเพื่อสุขภาพ ทั้งด้านนโยบาย โครงสร้างพื้นฐาน และการปฏิบัติการ 5. กฎหมาย กฎ ระเบียบ เพื่อสุขภาพ 5. กฎหมาย กฎ ระเบียบ เพื่อสุขภาพ

สร้างพันธะสัญญาสุขภาพดีถ้วนหน้า 4 ประการ 1.Global agenda 1.Global agenda 2.Government responsibility 2.Government responsibility 3.Community and civil society goals 3.Community and civil society goals 4.Good cooperate pratice 4.Good cooperate pratice

สุขภาพดีถ้วนหน้า