สรุปสาระเวทีประชุม โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพครั้งที่ 7
สุขภาพ A state of complete physical, mental and social well-being and not merely the absence of disease or infirmity A state of complete physical, mental and social well-being and not merely the absence of disease or infirmity (WHO definition, 1948 )
สิ่งจำเป็นเบื้องต้นสำหรับสุขภาพ ภาวะแวดล้อม และทรัพยากรที่สำคัญต่อการมีสุขภาวะ ที่ดี ประกอบด้วย ภาวะแวดล้อม และทรัพยากรที่สำคัญต่อการมีสุขภาวะ ที่ดี ประกอบด้วย สันติสุข สันติสุข ที่อยู่อาศัย ที่อยู่อาศัย การศึกษา การศึกษา อาหาร อาหาร รายได้ รายได้ ระบบนิเวศที่มีเสถียรภาพ ระบบนิเวศที่มีเสถียรภาพ ทรัพยากรที่ยั่งยืน ทรัพยากรที่ยั่งยืน ความยุติธรรมและความเท่าเทียมในสังคม ความยุติธรรมและความเท่าเทียมในสังคม
การสร้างเสริมสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพเป็นกระบวนการพัฒนา ส่งเสริม ให้ประชาชนสามารถกำหนด และดูแลสุขภาพของ ตนเองได้ ในการบรรลุการอยู่ดีมีสุขทั้งทางกาย จิต สังคมทั้งในระดับปัจเจก และระดับกลุ่มคนนั้น การ ค้นหาแรงบันดาลใจ และการตอบสนองความต้องการที่ นำไปสู่การแก้ไข หรือจัดการกับสภาพแวดล้อมให้ เอื้ออำนวยต่อการบรรลุผลที่คาดหวังไว้เป็นสิ่งจำเป็น ดังนั้นสุขภาพในมิติใหม่จึงไม่ใช่เป็นจุดมุ่งหมายของ การดำรงชีวิต แต่เป็นต้นทุนในการดำรงชีวิต ภายใต้ แนวคิดนี้ที่สุขภาพเป็นต้นทุนในระดับบุคคล และสังคม ทำให้การสร้างเสริมสุขภาพไม่ควรจำกัดอยู่ในแวดวง สาธารณสุขอีกต่อไป แต่ได้ก้าวข้ามไปสู่กลุ่มคนที่ เกี่ยวข้องกับการค้นหาการดำรงชีวิตอย่างมีสุขภาวะที่ดี
กฎบัตรออตตาวา สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวย สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวย พัฒนาทักษะส่วนบุคคล พัฒนาทักษะส่วนบุคคล เสริมความเข้มแข็งของชุมชน เสริมความเข้มแข็งของชุมชน การปรับทิศทางการบริการด้านสาธารณสุข การปรับทิศทางการบริการด้านสาธารณสุข
การบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพ อย่างยั่งยืน สุขภาพขององค์กร คือ ตัวโรงพยาบาลเองและ ระบบบริหารจัดการของโรงพยาบาล การสร้าง ขวัญและกำลังใจ สร้างความมุ่งมั่น สร้างความ ท้าทาย สร้างค่านิยม และวัฒนธรรมการทำงาน ที่ดี สุขภาพขององค์กร คือ ตัวโรงพยาบาลเองและ ระบบบริหารจัดการของโรงพยาบาล การสร้าง ขวัญและกำลังใจ สร้างความมุ่งมั่น สร้างความ ท้าทาย สร้างค่านิยม และวัฒนธรรมการทำงาน ที่ดี ( นพ. ชื่น เตชามหาชัย ) ( นพ. ชื่น เตชามหาชัย )
กฎบัตรกรุงเทพ พันธมิตร 1. พันธมิตร 2. การพัฒนาศักยภาพ ทั้งการพัฒนานโยบาย ภาวะผู้นำ การปฏิบัติที่ดี การจัดการความรู้และ รู้เท่าทันสุขภาพ 2. การพัฒนาศักยภาพ ทั้งการพัฒนานโยบาย ภาวะผู้นำ การปฏิบัติที่ดี การจัดการความรู้และ รู้เท่าทันสุขภาพ 3. การสร้างกระแสสังคม 3. การสร้างกระแสสังคม 4. การลงทุนเพื่อสุขภาพ ทั้งด้านนโยบาย โครงสร้างพื้นฐาน และการปฏิบัติการ 4. การลงทุนเพื่อสุขภาพ ทั้งด้านนโยบาย โครงสร้างพื้นฐาน และการปฏิบัติการ 5. กฎหมาย กฎ ระเบียบ เพื่อสุขภาพ 5. กฎหมาย กฎ ระเบียบ เพื่อสุขภาพ
สร้างพันธะสัญญาสุขภาพดีถ้วนหน้า 4 ประการ 1.Global agenda 1.Global agenda 2.Government responsibility 2.Government responsibility 3.Community and civil society goals 3.Community and civil society goals 4.Good cooperate pratice 4.Good cooperate pratice
สุขภาพดีถ้วนหน้า