กลวิธีการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
Advertisements

การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing)
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
องค์ประกอบที่ 4 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากร
สวัสดีครับ.
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
25/07/2006.
การสัมมนาโครงการสร้างอนาคต แพทย์ทหารเรือ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ ขั้นตอนที่ ๑ Stake Holder Analysis : การวิเคราะห์ความต้องการของ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทั้งหมด ขั้นตอนที่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
กลุ่มพัฒนาระบบทันตสาธารณสุข งบประมาณ ปี การส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กวัยเรียน โครงการจัดทำชุดความรู้ประสบการณืการจัด กิจกรรมของครู โครงการจัดการความรู้
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
สารสนเทศกับการพัฒนางาน โรงพยาบาล
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
Back Office: หัวใจของระบบทั้งหมดในโรงพยาบาล
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การวางแผนยุทธศาสตร์.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลวิธีการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

องค์ประกอบของการส่งเสริมสุขภาพ

นโยบาย HPH

คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลระยอง ทีมนำพัฒนาคุณภาพ ศูนย์พัฒนาคุณภาพ HA&HPH ทีมพัฒนาคุณภาพบริการเฉพาะด้าน ทีมพัฒนาคุณภาพด้านคลินิกบริการ คลินิกบริการ หน่วยงานสนับสนุน คลินิกบริการ CF MAK HRD MSO NSO 1. PCT สูติกรรม 2. PCT ศัลยกรรม 3. PCT อายุรกรรม 4. PCT กุมารเวชกรรม 5. PCT ออร์โธฯ 6. PCT จักษุวิทยา 7. PCT โสต ศอ นาสิก 8. PCT MTT RM ENV IC MA PTC MIC CF Customer Focus MAK Measurement Analysis and Knowledge Management MA Medical Audit

อบรม HA / HPH ให้เจ้าหน้าที่

สร้างสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศ ที่เอื้อปรับปรุงผลงาน สร้างสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศ ที่เอื้อปรับปรุงผลงาน การประชุมวิชาการโรงพยาบาลระยอง มหกรรมคุณภาพ สัปดาห์ความปลอดภัย

การบริหารทรัพยากร สนับสนุนงบประมาณ 200,000 บาท/ปี สนับสนุนงบประมาณ 200,000 บาท/ปี มีระบบตรวจสอบการใช้งบประมาณ จัดสรรวัสดุอุปกรณ์ในการส่งเสริมสุขภาพ พัฒนาบุคลากรด้านส่งเสริมสุขภาพ เช่น ฝังเข็ม โยคะ ไทเก็ก แอโรบิค นวด อาหารเพื่อสุขภาพ

ทรัพยากรบุคคล จัดการด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ - จัดสวัสดิการบ้านพักและห้องพักเวร - เพิ่มค่าสวัสดิการอาหารว่าง - เพิ่มเงินเดือนให้ในระดับลูกจ้างชั่วคราว - เพิ่มค่าเวรบ่ายดึกอีก 300 บาท/คน/เดือน - เสนอขออนุมัติค่าตอบแทนเพิ่มตามภาระงาน ได้แก่ การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ - จัดให้เจ้าหน้าที่ศึกษาดูงาน 5 วัน

สิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ตักบาตร วันเบาหวานโลก สิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ออกกำลังกาย ศูนย์ออกกำลังกาย

Happy Soul ทำบุญ ศีล สมาธิ ปัญญา

สานใยรัก ผูกพันน้องพี่ Happy Heart สานใยรัก ผูกพันน้องพี่

มอบทุนการศึกษาบุตร จนท. ผ่อนคลาย Happy Relax Happy Family

Happy Society Happy Money Happy Brain ส่งเสริมการออม ส่งเสริมการเรียนรู้ กิจกรรมเพื่อสังคม Happy Society Happy Money Happy Brain

ตรวจสุขภาพประจำปีและตามความเสี่ยง Happy Body ตรวจสุขภาพประจำปีและตามความเสี่ยง 14

- แต่ละ PCT มีการประชุมเพื่อทบทวนความเสี่ยงทางคลินิก โดยใช้ใบ Concurrent report, การทบทวนเวชระเบียนในผู้ป่วยเสียชีวิต เช่น ในกลุ่มผู้ป่วย และกลุ่มโรคสำคัญของแต่ละสาขา เช่น Multiple trauma, Pneumonia, DHF, STEMI เป็นต้น

การทำงานกับชุมชน 1 การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับชุมชน 1 การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับชุมชน - กำหนดชุมชน ประเมินความต้องการ กำหนดกลุ่มเป้าหมายในชุมชน - วางแผนออกแบบ ที่ตอบสนองปัญหา - ร่วมมือกับองค์กรอื่น - ประเมินติดตามผลและปรับปรุง 2 การเสริมพลังชุมชน - เครือข่าย คู่พันธมิตร พฤติกรรมสุขภาพ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ทางสังคม

กระบวนการดูแลผู้ป่วยจากรพ.สู่ชุมชน การเข้าถึง การประเมิน การวางแผน การดูแลผู้ป่วย การให้ข้อมูลและเสริมพลัง การดูแลต่อเนื่อง

การวางแผนจำหน่าย มีการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเอง และได้รับการดูแล อย่างเหมาะสมกับสภาพปัญหาและความต้องการ หลังจากจำหน่ายจากโรงพยาบาล มีการกำหนดแนวทาง ข้อบ่งชี้ และโรคที่เป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญสำหรับการวางแผนจำหน่าย (2) มีการพิจารณาความจำเป็นในการวางแผนจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย ตั้งแต่เริ่มแรกที่เป็นไปได้. (3) แพทย์ พยาบาล และวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งผู้ป่วยและครอบครัว มีส่วนร่วมในการวางแผนจำหน่าย. (4) มีการประเมินและระบุปัญหา/ความต้องการของผู้ป่วยที่จะเกิดขึ้นหลังจำหน่าย และประเมินซ้ำเป็นระยะในช่วงที่ผู้ป่วยได้รับการดูแลอยู่ในโรงพยาบาล.

การวางแผนจำหน่าย(ต่อ) (5) มีการปฏิบัติตามแผนจำหน่ายในลักษณะที่เชื่อมโยงกับแผนการดูแลระหว่างอยู่ในโรงพยาบาล ตามหลักการเสริมพลัง เพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีศักยภาพและความมั่นใจในการจัดการดูแลสุขภาพของตนเอง. (6) มีการประเมินผลและปรับปรุงกระบวนการวางแผนจำหน่าย โดยใช้ข้อมูลจากการติดตามผู้ป่วยและข้อมูลสะท้อนกลับจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง.

จัดอบรมการทำแผนสร้างสุขภาพโดยชุมชน เพื่อชุมชน

มหกรรมสุขภาพ 3 ธค. 51

โครงการการดูแลผู้ป่วย DM แบบองค์รวม โรคที่พบบ่อย การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้น และไข้หวัด เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคติดเชื้อและปรสิต โรคปวดข้อ และปวดกล้ามเนื้อ PCU ตะพง โครงการการดูแลผู้ป่วย DM แบบองค์รวม

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ ชุมชน ร่วมสร้างแนวคิดในการสร้างสุขภาพ การทำงานเป็นทีม สร้างองค์ความรู้ HPH และเชื่อมโยงกับงาน HA พัฒนาเครือข่าย PCU การสร้างนวัตกรรมผลงาน HPH ขององค์กรและเครือข่าย

Always work in a team