สังคม โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มคน จำนวนหนึ่ง ซึ่งมีแบบแผนในการปฏิบัติร่วมกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน กลุ่มคน หมายถึง คนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ที่มีการติดต่อกันทางสังคมและอยู่ร่วมกัน ณ สถานที่ใดสถานที่หนึ่ง
องค์ประกอบของสังคม คน กลุ่มคน ความสัมพันธ์กันของกลุ่มคน อาณาเขต การจัดระเบียบทางสังคม
ความสัมพันธ์ทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง/การปกครอง อาชีพ สังคม วิถึชีวิต/บรรทัดฐาน การศึกษา สุขภาพ ประเพณี/วัฒนธรรม ความมั่นคง
สถานะของคนในหมู่บ้าน สวัสดิการผู้ด้อยโอกาส โครงสร้างหมู่บ้าน ผู้นำ กลุ่มคน สถานะของคนในหมู่บ้าน กองทุน สาธารณูปโภค สวัสดิการผู้ด้อยโอกาส หมู่บ้าน อาชีพ วิถึชีวิต การปกครอง การพัฒนา คณะกรรมการหมู่บ้าน
ตัวอย่างโครงสร้างคณะกรรมการหมู่บ้าน ประธานกรรมการหมู่บ้าน กรรมการโดยตำแหน่ง กรรมการจากการเลือกตั้ง ฝ่ายพัฒนา ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านทุกคน ฝ่ายปกครอง ฝ่ายป้องกัน ส.อบต. ทุกคน ฝ่ายการคลัง ฝ่ายสาธารณสุข ฝ่ายสวัสดิการและสังคม ฝ่ายศึกษาและวัฒนธรรม
การทำงานของคณะกรรมการหมู่บ้าน เป็นการร่วมมือกันทำงาน เป็นกลุ่ม ร่วมคิด ร่วมพิจารณา ร่วมตัดสินใจ เพื่อให้งานสำเร็จ หมู่บ้านจะเจริญก้าวหน้า ขึ้นอยู่กับความร่วมมือของทุกคน งานทุกอย่าง ไม่สามารถทำคนเดียวได้ คณะกรรมการทุกฝ่ายมีบทบาทเท่ากัน มองปัญหาร่วมกัน มีความต้องการเดียวกัน และต้องมีการประชุมแลกเปลี่ยน ข้อคิดเห็นอยู่เสมอ เพื่อขจัดปัญหาข้อขัดข้อง เพื่อความเจริญของหมู่บ้าน