Introduction to Internet Service Technology

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

Introduction To Web Application
การเรียนครั้งที่ 9 บทที่ 4: “Telecommunications, the Internet, Intranets, and Extranets” โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์ อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Script Programming& Internet Programming
บทที่ 12 การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration)
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
HTML เบื้องต้น ธวัชชัย สลางสิงห์.
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
Intro : การเขียนโปรแกรมบนอินเตอร์เน็ต
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
HTTP Client-Server.
World Wide Web WWW.
(Hypertext Transport Protocol)
SMTP.
ศุภโชค จันทรประทิน ผู้ช่วยนักวิจัย ห้องปฎิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบ Internet
กระบวนการพัฒนา เอกสารเว็บเพจ
File Transfer (FTP), WWW, HTTP, DHCP.
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
Introduction to php Professional Home Page :PHP
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
ขั้นตอนการเขียนเว็บเพจ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
การออกแบบเว็บเซอร์วิสสำหรับการจัดการบริการ ของมหาวิทยาลัย A Web Service Design for University Services Management.
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ทบทวนความเข้าใจ.
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์
TCP/IP.
What’s P2P.
PHP.
Introduction to ASP.NET
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 12 กรกฎาคม 2550 HTML (HyperText Markup Language)
System Integration.
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
CSC431 Computer Network System
Charter 12 1 Chapter 12 อินเทอร์เน็ต Internet.
นายวีระ คงกระจ่าง ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
HTML, PHP.
คอมพิวเตอร์ ร.ร.จักรคำคณาทร
เทคโนโลยีเว็บ (Web Technology)
การแก้ไขปัญหาการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย เบื้องต้น
Internet.
ระบบงานคอมพิวเตอร์บนเว็บ
รายวิชา การออกแบบเว็บไซต์
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
Web Application Programming
ปิยพจน์ และคณะ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
www เริ่มมีพัฒนาการมา ในราวปี ค. ศ ที่ Cern ซึ่งเป็น ห้องปฏิบัติการทางฟิสิกส์ แห่งยุโรป ตั้งอยู่ที่ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ โดย Bernner – Lee เป็นผู้
World Wide Web. You will know หัวเรื่องหลักๆทั้งหมด 5 หัวข้อดังนี้ Basic Web Concept Web application in daily life Essential Web Developer Language How.
อินเทอร์เน็ต โดย.. ครูสาคร หนูอิน.
Chapter 3 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
การเขียนเว็บเพ็จด้วยโปรแกรม
HTTP (Hyper Text Transfer Protocol )
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บ
ISP ในประเทศไทย
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
PHP. P ersonal H ome P age P rofessional H ome P age PHP : H ypertext P reprocessor.
บทที่ 8 เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
Application Layer.
1. บทนำเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผล ทางการทหาร เนื่องจากในยุค สงครามเย็น เมื่อประมาณ พ. ศ 2510 ระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ และฝ่ายเสรี
นางเชาวลี สมบูรณ์ดำรงกุล
Mr. Winai Purikasem. Introduction  Hypertext model  Use of hypertext in World Wide Web (WWW)  WWW client-server model  Use of TCP/IP protocols in.
Introduction to Internet Service Technology
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction to 321370 Internet Service Technology อ. อธิตา โชคอนันต์รัตนา

คำอธิบายรายวิชา (Course description) ชนิดและบริการต่างๆ ในระบบอินเทอร์เน็ตในเชิงของผู้ให้บริการ มากกว่าผู้ใช้บริการ การจัดการโครงสร้างสารสนเทศขององค์กรสำหรับ ให้บริการในระบบอินเทอร์เน็ตในรูปแบบต่างๆ การรักษาความ ปลอดภัยบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต พัฒนาการของเทคโนโลยีทาง อินเทอร์เน็ต ทีซีพี/ไอพี เนมซเพช การเชื่อมต่อและโปรโตคอล โครงสร้างของระบบรับให้บริการ เทคนิคของเวิล์ไวด์เว็บ การโปรแกรม ทางฝั่งเครื่องให้บริการ เทคนิคของเวิลด์ไวด์เว็บ การโปรแกรมทางฝั่ง เครื่องให้บริการ การเขียนโปรแกรมซีจีไอ

การให้คะแนน การวัดผลและประเมินผล เข้าร่วมกิจกรรมการเรียน ร้อยละ 10 เข้าร่วมกิจกรรมการเรียน ร้อยละ 10 กิจกรรมเขียนโปรแกรม ร้อยละ 15 พัฒนางานประยุกต์ ร้อยละ 30 สอบกลางภาค ร้อยละ 20 สอบปลายภาค ร้อยละ 25

การตัดเกรด การให้เกรด A 80 ++ C 50 F 30 --

Review Web Application Terminals Host Internet เรียนวิชา OS เป็นเรื่องเกี่ยวกับการประมวลผลแบบ Centralized มีเครื่อง Host และมีจอที่ต่อออกไปเครื่อง Terminal เพื่อแสดงผลข้อมูล การทำงาน การประมวลผลทุกอย่างจะอยู่บนเครื่องเดียว นั่นก็คือเครื่อง Host ซึ่งอาจจะเป็น Main Frame

การประมวลผลศูนย์กลาง Terminals Host Centralized Processing ความหมาย หมายถึง วิธีการประมวลผลที่ ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์จะใช้ผ่าน ศูนย์กลางจากเครื่อง ปลายทาง (terminal) การเรียกหาข้อมูลหรือ โปรแกรมที่จะใช้ จะเรียกจาก ศูนย์กลางทั้งหมด ดู terminal ประกอบ คอนเซ็ป Centralized Processing มีเรื่องเกี่ยวกับความเสี่ยง single point of failure เรื่องเกี่ยวกับเครื่องโฮส นั่นก็คือถ้าเครื่องโฮสมีปัญหา ก็จะทำให้ระบบไม่สามารถทำงานได้ เพราะในยุคแรกเรามีการใช้ Main Frame, Mini Computer ที่มี Performance ค่อนข้างสูง ราคาแพง ทำงาน ประมวลผลฐานข้อมูล ประมวลผลโปรแกรม จากปัญหานี้จึงมีการเปลี่ยนไปเป็นแบบ Distributed Processing

การประมวลผลแบบกระจาย Internet Distributed Processing การประมวลผลแบบกระจาย จึงได้มี การจัดสรรหน้าที่การทำงานต่าง ๆ ที่ จะต้องเชื่อมโยงกับเครือข่าย อินเตอร์เน็ตให้กับคอมพิวเตอร์อีก เครื่อง หนึ่งโดยเฉพาะ เรียกว่า เว็บ เซิร์ฟเวอร์ “Web Server Distributed Processing เริ่มเกิดขึ้นสมัยที่เราเริ่มใช้ PC / PC ที่มีประสิทธิภาพสูงก็จะเรียกว่า Work Station

Distributed Model Devices Server Database Server Process Server Client จึงเกิด Concept การมี server หลายๆตัว Server ในแต่อย่างก็อาจจะทำบทบาทที่ต่างกัน มีบางเครื่องที่ทำหน้าที่ client Super Computer อาจจะใช้ในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ที่ต้องประมวลผลมากๆ Render Graphic คำนวณ metrics จริงๆ PC ก็ทำได้แต่อาจจะทำเป็นวันๆ Database ก็จะเก่งแบบ IO Input output devices ทำงานแบบ concurrent กับ strorage ได้ดี Client

การวัดความสามารถของ Super Computer หน่วยวัดความสามารถ MIPS (MILLION INSTRUCTION PER SECOND) FLOPS (FLOATING POINT OPERATIONS PER SECOND) การทำ งานในการเอ็กซีคิวส์ (EXECUTE) คำสั่งหนึ่งคำ สั่งของโปรแกรมเราเรียกว่า วัฎจักรคำ สั่ง (MACHINE CYCLE) ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ INSTRUCTION CYCLE และ EXECUTE CYCLE ความเร็วของการประมวลผลของหน่วยประมวลผลก ลางจะคิดเป็นวินาที มีหน่วยเป็น ถ้าเป็นเครื่อง คอมพิวเตอร์ทั่วไป ได้กี่ล้านคำสั่งโดยเฉลี่ยต่อวินาที MIPS (MILLION INSTRUCTION PER SECOND) ถ้าจะวัดความสามารถของ CPU ที่ใช้เพื่อการประมวลผลจริงๆ จะใช้ FLOPS (FLOATING POINT OPERATIONS PER SECOND)

Thick and Thin Thick Client การทำงานหรือการประมวลผลอยู่ที่เครื่องแม่ ข่ายหรือเครื่องเซิร์ฟเวอร์เป็นหลัก แต่ในฝั่ง Client ก็ยังต้องมี โปรแกรมติดตั้งอยู่ Thin Client เป็นลักษณะการเลียนแบบ Centralized Processing แต่เปลี่ยนจาก Terminal จะเป็น PC ธรรมดาแทน ปัญหาของ Thick Client โดยทั่วไประบบ คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันจะถูกเชื่อมโยงกันด้วยระบบเครือข่ายท้องถิ่น ( Local Area Network : LAN ) ซึ่งเครื่องที่เป็นลูกข่ายในระบบหรือ Client มักจะเป็นเครื่องพีซีที่มีสเปคเครื่องที่เปี่ยมประสิทธิภาพ ประกอบด้วยโปรเซสเซอร์ความเร็วสูง ฮาร์ดดิสก์ความจุมาก ๆ หน่วยความจำที่มากเพียงพอต่อการรันแอปพลิเคชั่นที่นับวันจะต้องการพลังการ ประมวลผลสูงขึ้นทุกที และเพียบพร้อมไปด้วยอุปกรณ์ต่อพ่วงนานาชนิด เช่น ซีดีรอม เครื่องพิมพ์ ปัญหาของระบบที่ใช้เครื่องพีซีชุดใหญ่เช่นนี้จึงมีอยู่ไม่น้อยเลย เครื่องลูกข่ายประเภทนี้ ผู้เขียนขอเรียกสั้น ๆ ว่า Thick Client นะครับ ในด้านการลงทุน เครื่องพีซีชุดใหญ่นี้จะมีราคาสูง หากใช้งานเพียงไม่กี่เครื่องก็คงไม่ใช้ปัญหา แต่ถ้ามีจำนวนเครื่องเป็นสิบเป็นร้อยเครื่องขึ้นไป ตัวเลขงบประมาณจะแตกต่างอย่างเห็นได้ชัด ทรัพยากรที่ซ้ำซ้อน และกระจัดกระจาย เป็นอีกปัญหาหนึ่งซึ่งมีผลกระทบต่อการบริหารจัดการ ในขณะที่พีซีเหล่านี้ทุกเครื่องต่างก็มีฮาร์ดดิสก์ภายในตัวเอง จะต้องมีซอฟต์แวร์ทั้งระบบปฏิบัติการและโปรแกรมประยุกต์ติดตั้งไว้ทุก เครื่อง เมื่อเริ่มต้นติดตั้งเครื่องเหล่านี้ในแต่ละจุดในสำนักงานก็สูญเสียเวลาและ แรงงานไปมากมายแล้ว หากมองต่อไปถึงข้อมูลของผู้ใช้ที่กระจัดกระจายในแต่ละเครื่อง คอนฟิกและสภาพแวดล้อมการใช้งานของแต่ละบุคคล จะสร้างภาระในเรื่องการสำรองข้อมูลขนาดไหน ปัญหาจะปรากฏขึ้นให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคนิคต้องเหนื่อยและเบื่อหน่ายเป็นราย วันอีก หากเครื่องเหล่านี้ติดไวรัส หรือเกิดความเสียหายจนถึงขนาดต้องนำออกไปซ่อมและเปลี่ยนเครื่องใหม่เข้ามาทด แทน Thin Client คืออะไร มีด้วยความต้องการที่จะลด ขนาดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้เป็นเวิร์กสเตชั่นเหล่านี้ให้มีขนาดเล็กลง เพื่อช่วยให้ความยุ่งยากในด้านการบริหารจัดการและการบำรุงรักษาลดลงไปได้ จึงทำให้เกิดแนวคิดของ Thin Client ขึ้น โดยลดทั้งขนาดและคุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ลงให้เหมาะสมกับงาน ที่ใช้ ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนลงไปได้ส่วนหนึ่ง ในขณะเดียวกันก็เป็นการยกเลิกทรัพยากรที่เป็นสื่อบันทึกข้อมูลขนาดใหญ่อย่าง เช่น ฮาร์ดดิสก์ ออกไปจากตัวเครื่องลูกข่าย แล้วยกภาระการประมวลผล การจัดเก็บข้อมูล การบริการงานแอปพลิเคชั่น ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ และการควบคุมต่าง ๆ ให้ไปรวมอยู่ที่เครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่เป็นศูนย์กลางในระบบเครือข่าย ที่เรียกว่า Server Based Computing แนวคิดเช่นนี้จะช่วยให้เกิดประโยชน์หลายประการ # ช่วยลดต้นทุนด้านฮาร์ดแวร์ของเครื่องลูกข่ายลงได้ เช่น สำหรับสถานศึกษาอาจจะใช้เครื่องพีซีระดับต่ำ-ปานกลางที่ได้รับบริจาคมา # ลดความยุ่งยากในด้านการจัดการระบบ ได้แก่ การตรวจเช็คไวรัส หรือ การสำรองข้อมูลในฮาร์ดดิสก์ของแต่ละเครื่อง # ช่วยลดงานที่ต้องปฏิบัติที่จุดตั้งเครื่องลูกข่าย เช่น การเปลี่ยนตัวเครื่องเพื่อการซ่อมแซม อัพเกรด การติดตั้งซอฟต์แวร์ ประยุกต์เพิ่มเติมให้แก่ผู้ใช้ # ลด โอกาส และช่องทางที่จะเกิดความเสียหายเนื่องจากการโจรกรรมข้อมูล ในกรณีที่ตัวเครื่องลูกข่ายแบบ Thin Client ไม่ได้ติดตั้งหรืออนุญาติให้ใช้สื่อบันทึกข้อมูลประเภท Removable Media หรืออุปกรณ์ต่อพ่วง เช่น ฟล๊อปปี้ดิสก์ ( สำเนาไฟล์ไม่ได้ ) พอร์ตเครื่องพิมพ์ ( พิมพ์ข้อมูลจากเอกสารไม่ได้ ) เป็นต้น รวมไปถึงป้องกันการโจรกรรมอุปกรณ์บันทึกข้อมูลราคาแพงเช่น ฮาร์ดดิสก์อีกด้วย เพราะไม่มีฮาร์ดดิสก์อยู่ในเครื่องนั่นเอง

Thick Client เครื่อง Client จะต้องมีแอพลิเคชั่นประมวลผลอยู่ด้วย Host เครื่อง Client จะต้องมีแอพลิเคชั่นประมวลผลอยู่ด้วย แต่ไปใช้ทรัพยากรบางอย่างที่เครื่อง Host

Centralized and Thin Client Personal Computer Host Terminals Host Windows server IBM main Frame Unix Server เครื่อง PC Display อย่างเดียว ลักษณะแบบนี้เรียก 2 tier

สถาปัตยกรรมแบบ 3-Tier Internet

Business Logic Data Storage Presentation สถาปัตยกรรมแบบ 3-Tier Business Logic Data Storage Presentation ในทาง Logical โปรแกรมทั้ง 3 ส่วนทำงานแยก ขาดออกจากกัน คือ โปรแกรมแต่ ละส่วนทำงานเป็นอิสระ ไม่ จำเป็นต้องเป็นภาษาเดียวกัน หรือ ผลิตภัณฑ์เดียวกัน สถาปัตยกรรมแบบ 3-Tier เป็นการออกแบบสถาปัตยกรรมของระบบ (System Architecture) โดยมีคอนเซปต์พื้นฐานคือการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละ tier ให้เด็ดขาดจากกัน ไม่ว่าจะเป็น… Presentation Tier รับผิดชอบในการแสดงผลด้าน UI Business Logic Tier รับผิดชอบในการประมวลผลด้าน business logic และ Data Tier ดูแลในส่วนการจัดการฐานข้อมูล (ในกรณีของ SOA จะมี Service Tier เพิ่มเข้ามาเพื่อดูแลในส่วนการติดต่อสื่อสารกับ service อื่นๆ ซึ่งมีได้มากมายในระบบ)

Presentation สถาปัตยกรรมแบบ 3-Tier Business logic Data Storages ในทาง Physical โปรแกรมทั้ง 3 ส่วนอาจจะแยกกัน อยู่ 3 เครื่อง หรือออาจจะอยู่ที่ เครื่องเดียวกันก็ได้ Internet อยู่ที่เครื่องเดียวกันทั้งหมด อยู่ต่างเครื่องกัน Presentation -> Web browser Business -> Web Server , Apache Data Storage -> File System, Database Business logic Data Storages Presentation

สถาปัตยกรรมแบบ n-Tier ในปัจจุบันข้อมูลบนเครือข่าย ยังมีข้อมูลประเภท Media เพิ่มมา อีก เช่น Movie Video จึงการเพิ่ม Server เข้ามาอีก Presentation Media Server Data storage Internet ทุกวันนี้ลักษณะของ 3-tier เริ่มมี data พวก media movie video animation ซึ่งมักต้องการประสิทธิภาพของเครื่อง server ที่ค่อนข้างสูง Database Server

มาตรฐานเกี่ยวกับ Internet Internet -> TCP/ IP, IMAP, SMTP, FTP ผู้ที่กำหนดมาตรฐานคือ IETF (Internet Engineering Task Force) [www.ietf.org] เป็นคณะทำงานเฉพาะกิจหนึ่งของ IAB ประกอบด้วยกลุ่มวิจัยต่างๆ ที่ ทำงานทางด้านโปรโตคอล ของอินเตอร์เน็ต, การประยุกต์ใช้งาน, สถาปัตยกรรม และเทคโนโลยี IETF บริหารจัดการโดยคณะกรรามการ และ IRSG( Internet Research Steering Group) ซึ่งประกอยด้วย ประธานกลุ่มงานวิจัยต่างๆ และนักวิจัยอื่นๆ สามารถไปเปิดดูมาตรฐานต่างๆได้ ซึ่งอันนี้ก็จะเป็นการกำหดมาตรฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต ในอินเทอร์เน็ตมีการส่งแบบ ASCII เป็นคำย่อที่มาจาก American Standards Committee on Information Interchange เป็นมาตรฐานในการรับส่งข้อมูลสารสนเทศบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รูปแบบที่ใช้แทนตัวอักษรที่นิยมใช้กันมากที่สุด เราเรียกว่า (ASCII) โดยจะแทนตัวอักษรด้วยรหัสหรือค่าตัวเลข เช่น ตัวอักษร "A" ถูกแทนด้วยค่า 65 ในขณะที่ตัวอักษร "B" แทนด้วยค่า 66 และ "C" คือ 67 ตามลำดับ รหัส ASCII นี้เอง ซึ่งถูกนำมาใช้งานในการแสดงข้อมูล รูปแบบเอกสาร ที่สามารถพิมพ์ให้ผู้ใช้ได้เห็นในขณะที่การบันทึกบนระบบคอมพิวเตอร์ จะใช้ในการเก็บเป็นตัวเลขแทน ข้อมูลต่างๆต้องมีการเข้ารหัสที่เหมาะสม

มาตรฐานเกี่ยวกับ WWW (www.w3c.org) W3C หรือ World Wide Web Consortium เป็นองค์กรระหว่าง ประเทศที่ทำงานด้านการพัฒนาเทคโนโลยีของ "เวิลด์ไวด์เว็บ" นำโดยนาย ทิม เบิร์นเนอร์ ลี (Tim Berners-Lee) ก่อตั้ง W3C ในปี ค.ศ.1994  มีองค์กรสมาชิกมากกว่า 450 องค์กร ที่เรารู้จัก กันดีเช่น Apple,Google, Microsoft, Sun Microsystems องค์กร W3C นี้ ประกอบด้วยสถาบัน 3 สถาบันคือ MIT ใน สหรัฐอเมริกา INRIA ในยุโรป และ Keio University ในญี่ปุ่น Service  Email, www ,ftp, im

Tim Berners-Lee

WWW

โปรโตคอลของ www HTTP (Hyper text transfer protocol) Version 1.1 1.0 HTTP Request ในส่วนหน่วยงานที่เกี่ยวกับมาตรฐานของ www มาตรฐานในการสื่อสารกันของ www สัญญาณที่ส่งไป ก็จะเป็นแบบอยู่ในรูปของ Protocol HTTP มีสองแบบคือ แบบ Request Respond มีรูปแบบที่แตกต่างกัน Client Web Server HTTP Respond

รูปแบบของ Request Header BODY Request Header IP Number ของเครื่อง Client OS Client Web Agent ได้แก่ข้อมูลเกี่ยวกับ เว็บบราวเซอร์ ชื่อ เวอร์ชั่น ภาษาที่สนับสนุน Cookie URL + Query String Request Body ถ้าเป็นการส่งปกติจะไม่มีค่าอะไรส่งไปให้ แต่ถ้าเป็นการส่งแบบ submit form ข้อมูลที่ไปจะเป็นชื่อของ field ต่างๆใน form และค่าใน form ส่ง Cookie ที่เคยฝากไว้ ส่วนที่สำคัญ 2 ส่วนของ คือ Header / Body Information ในส่วน Header

รูปแบบของ Respond Header BODY Respond Header message status เช่น ส่งกลับมาตัวเลข 200 หมายความว่า ถูกต้อง ถ้าส่งมาเป็น 4xx จะเป็น error ในแบบที่เป็น 5xx คือเป็นแบบ Internal Server Error ฝาก cookie กลับมา Cache, Browser control Content Type Respond Body เนื้อหาของ content ในส่วนของ Header Respond เซิร์ฟเวอร์ส่งกลับมาหา จะไม่ได้มีข้อมูลเกี่ยวกับตัวเองมากนัก Cache  ข้อมูลเช่น วีดีโอ flash movie เพื่อเก็บไฟล์เหล่านี้ไว้ในเครื่องเวลาเปิดก็เปิดเร็ว หรือเราจะเขียนโปรแกรมแบบว่าไม่ต้องเก็บ cache ก็ได้ เช่น ข้อมูลเราเปลี่ยนบ่อย ไม่ให้เก็บ cache เป็นต้น Content type คือส่งที่ตอบกลับมาสามารถระบุเป็น content type อะไร เช่น รูป วีดีโอ ภาพ เป็นต้น ซึ่งจะมีการเข้ารหัสที่เหมาะสม สรุป อันนี้ก็คือสิ่งสำคัญ

ความสำคัญของภาษาและเว็บบราวเซอร์ HTML CSS XML Java Script ……… etc (Client Side) Web Browser Tag Attribute Value ในอีกสิ่งหนึ่งที่มีความสำคัญ ที่จำเป็นต้องรู้ในการเขียนเว็บโปรแกรม คือ ภาษาที่ใช้ Web browser มีผลต่อการเขียนเว็บโปรแกรมไหม ตอบ ไม่ดีมีโดยตรง เพราะเว็บโปรแกรมประมวลผลบนเซิร์ฟเวอร์แล้วส่งผลกลับมา แต่มีผลโดยอ้อม คือ HTML ที่ส่งกลับมานั้น เว็บบราวเซอร์ รู้จักไม่เท่ากัน บางอันมี tag / attribute / value ที่เฉพาะของตัวเอง ดังนั้นต้องมีความละเอียดในการเขียนโปรแกรม ซึ่งอาจจะต้องมีการเขียนโปรแกรม เพื่อดักจับว่า Client ที่ส่งมานั้น ใช้เว็บบราวเซอร์อะไร รุ่นได้ จะให้แบ่ง Tag / เขียนให้เหมาะสม คำถาม ถ้าอยากจะสร้างเว็บ แล้วต้องการเขียน tag ให้สามารถเปิด ได้ทุกบราวเซอร์ ทำไงดี

Introduction to HTML อย่างกระชับ

ภาษา HTML TEXT Character Encoding IEEE, ISO (TIS-620) Encoding, UTF-8, utf-7 ---- utf-16 DEFACTO Standard เช่น ในประเทศไทยใช้ windows-874, TIS-620 จะใช้ character code อะไรขึ้นอยู่กับ platform/os ที่เลือดใช้ด้วย

TAG ภาษา HTML Closed Tag Empty Tag <tag เปิด>………………. </tag> < td bgcolor=“……………”> ………….. </td> Empty Tag <tag ……………… /> เป็นรูปแบบ xhtml Html “” ใส่หรือไม่ก็ได้ แต่ xhtml ต้องใส่

โครงสร้าง TAG <HTML> <html> <head> <title>…………</title> <meta………………….. /> <link …………………………../> </head> <body> </body> </html> Meta  Link  Java script 

กรณีที่เป็นข้อความพิเศษ อักขระพิเศษ เช่น < > “ & จะต้องมีการใช้คำสั่งพิเศษ เรียก character entity แทน > < &quote; White space การเว้นวรรค การขึ้นบรรทัดใหม่ การขีดเส้น ซึ่ง เราจะเรียกว่าเป็น separator แสดงแค่ 1 blank ถ้าต้องการ blank หลายๆครั้งต้องใช้  

TAG ต่างๆ <br> <hr> <p> <h1> ถึง <h6> <list>

TAG ต่างๆ <table> <a href=“url” target=“” name=“”> <img src=“” width=“” height=“” alt=“”>

ทำรายงานเรื่อง Status Code Definitions ของ HTTP ให้ ยกตัวอย่าง 10 code ที่พบบ่อย ให้หาว่า tag / attribute / value / css ใด ที่เป็นลักษณะเฉพาะ ของเว็บบราวเซอร์ [ IE 5, IE 6, IE 7, Firefox, Chrome, Safari] ให้หาให้ได้มากที่สุด ในส่วนหน่วยงานที่เกี่ยวกับมาตรฐานของ www