แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕ แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕ กลุ่มงานสุขภาพภาคประชาชน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
นโยบายรัฐบาล พัฒนาขีดความสามารถ อสม.ให้เป็นนักจัดการสุขภาพ พัฒนาแกนนำสุขภาพครอบครัว การสาธารณสุขมูลฐานที่ชุมชน และท้องถิ่นมีส่วนร่วมจัดการสุขภาพ
นโยบายรัฐมนตรี และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นโยบายรัฐมนตรี และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข สร้างแรงจูงใจ และพัฒนาขีดความสามารถของ อสม. สนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาครัฐ และเอกชนในการจัดบริการสุขภาพ
ยุทธศาสตร์สุขภาพกระทรวงสาธารณสุข ● ผลผลิต สป. ข้อ ๘ : ภาคีเครือข่ายสุขภาพมีความเข้มแข็ง ยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัดอุดรธานี ● ข้อ ๓ การมีส่วนร่วมของประชาชน และพหุภาคี
กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาศักยภาพ อสม กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาศักยภาพ อสม.สู่การเป็นแกนนำในการจัดการสุขภาพ และสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานให้ อสม. พัฒนาความเข้มแข็งชมรม อสม.ตำบล/อำเภอ/จังหวัด คัดเลือก อสม.ดีเด่น/เชิดชูเกียรติ อสม./งานวัน อสม.แห่งชาติ
กลยุทธ์ที่ ๑ (ต่อ) พัฒนาสมรรถนะ อสม. (อสม.เชี่ยวชาญ), นักสื่อสารสาธารณะ, เรียนต่อ กศน., จิตอาสา, อสม.เชิงรุก (ค่าป่วยการ อสม.) พัฒนาศักยภาพเครือข่าย อสม. ในการช่วยเหลือเหตุฉุกเฉิน และสภาวะวิกฤติ
กลยุทธ์ที่ ๒ สนับสนุนภาคีเครือข่ายในกระบวนการจัดการสุขภาพชุมชน สนับสนุน อปท.ในการขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบล ตำบลจัดการสุขภาพ SRM ใน รพ.สต. มิตรภาพบำบัด โรงเรียน อสม./โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ตำบลซ้อมแผนเฝ้าระวังไข้หวัดใหญ่/ไข้หวัดนก
กลยุทธ์ที่ ๓ พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มี ประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ ๓ พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มี ประสิทธิภาพ ฐานข้อมูล อสม. (อสม., กสค., อสมช., คณะกรรมการบริหารชมรม, อสม.รับค่าป่วยการ) ฐานข้อมูลภาคีเครือข่าย (ภาครัฐ, อปท., องค์กรพัฒนาเอกชน) ฐานข้อมูล หมู่บ้าน/ ตำบลจัดการสุขภาพ, แผนสุขภาพตำบล, โรงเรียนนวัตกรรมชุมชน
ภารกิจที่ดำเนินการร่วมกับฝ่ายอื่น ๑. กองทุนตำบลเข้มแข็ง ประกันสุขภาพ ๒. ประเมินผลการดำเนินงานกองทุน ประกันสุขภาพ ๓. ตำบลซ้อมแผนไข้หวัดใหญ่/ไข้หวัดนก สวช.๑ ๔. SRM ใน รพ.สต. สวช.๔ ๕. ตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบไอโอดีน สวช. ๒ และนมแม่สายใยรัก
งานเน้นหนักในไตรมาสแรก ต.ค. ๕๔ – ม.ค. ๕๕ งานเน้นหนักในไตรมาสแรก ต.ค. ๕๔ – ม.ค. ๕๕ ทะเบียนฐานข้อมูล อสม. อสม.รับค่าป่วยการ คัดเลือก อสม.ดีเด่น/ เชิดชูเกียรติ อสม./ จัดงานวัน อสม.แห่งชาติ ตำบลต้นแบบจัดการสุขภาพ โรงเรียน อสม. จิตอาสา / มิตรภาพบำบัด
งานเน้นหนักในไตรมาส ที่ ๒ ก.พ. - พ.ค. ๕๕ งานเน้นหนักในไตรมาส ที่ ๒ ก.พ. - พ.ค. ๕๕ อบรม อสม.เชี่ยวชาญ ตำบลซ้อมแผนไข้หวัดใหญ่ / ไข้หวัดนก แผนสุขภาพตำบล และ SRM ใน รพ.สต. ตำบลจัดการสุขภาพ โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
งานเน้นหนักในไตรมาส ที่ ๓ มิ.ย. - ก.ย. ๕๕ งานเน้นหนักในไตรมาส ที่ ๓ มิ.ย. - ก.ย. ๕๕ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล ประเมินผลการดำเนินงาน กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล สำรวจสถานการณ์การพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพ และโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ตัวชี้วัด ประเมิน คปสอ. ตัวชี้วัดหลัก ; ระดับความสำเร็จการดำเนินงาน สุขภาพภาคประชาชน ๒ ตัวชี้วัดย่อย ร้อยละของหน่วยบริการที่พหุภาคีมีส่วนร่วม จัดการสุขภาพ (วัดเชิงกระบวนการ) ค่าน้ำหนัก = ๔ ๒. ร้อยละตำบลจัดการสุขภาพ (วัดเชิงปริมาณ) ค่าน้ำหนัก = ๒
ตัวชี้วัดย่อยที่ ๑ : ร้อยละของหน่วยบริการที่พหุภาคีมีส่วนร่วมจัดการสุขภาพ ขั้นที่ ๑ ระดับพื้นฐาน : การสร้างและพัฒนาพหุภาคี ขั้นที่ ๒ ระดับพัฒนา : การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ขั้นที่ ๓ ระดับดี : การขับเคลื่อนแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ขั้นที่ ๔ ระดับดีมาก : การประเมินผลและการจัดการอย่างต่อเนื่อง ขั้นที่ ๕ ระดับดีเยี่ยม : มีนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ตัวชี้วัดย่อยที่ ๒ : ร้อยละตำบลจัดการสุขภาพ ระดับ ๑ ระดับพื้นฐาน : มีตำบลจัดการสุขภาพร้อยละ ๑ - ๕๐ ระดับที่ ๒ ระดับพัฒนา : มีตำบลจัดการสุขภาพร้อยละ ๕๑ - ๖๐ ระดับที่ ๓ ระดับดี : มีตำบลจัดการสุขภาพร้อยละ ๖๑ - ๗๐ ระดับที่ ๔ ระดับดีมาก : มีตำบลจัดการสุขภาพร้อยละ ๗๑ - ๘๐ ระดับที่ ๕ ระดับดีเยี่ยม : มีตำบลจัดการสุขภาพมากกว่าร้อยละ ๘๐
ข้อมูล / เอกสารที่อำเภอต้องจัดเตรียม ๑. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ รพ.สต./ กองทุน และ บันทึกการประชุม ๒. ข้อมูลจำนวนภาคีเครือข่ายที่ร่วมทำ SRM ๓. โครงการอย่างน้อย ๓ โครงการ, ภาพ กิจกรรม และ สรุปผลการดำเนินงาน ๔. รูปเล่ม พร้อมภาพถ่าย ๕. สรุปประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ๖. ทำเนียบ อสม.และเครือข่ายอื่น ๆ ๗. แผนการสอน และดำเนินกิจกรรมโรงเรียน อสม. ๘. เอกสาร และรูปภาพจัดการเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ นวัตกรรม