ใช้ในFlip Album รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง(Change)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
การสอนงาน (Coaching) Internal Training & Coaching
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
รายงานการวิจัย.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
ชีวเคมี II Bioenergetics.
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรช่างอุตฯ2
มองไม่เห็นก็เรียนได้
หน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมทางภาษา
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
แผนการจัดการเรียนรู้
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การปลูกพืชผักสวนครัว
โครงงาน ระบบงานที่สร้างสรรค์. ภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ การออกแบบระบบงาน และพัฒนา งานจำเป็นต้องศึกษา รายละเอียดของงาน โดย ทำการศึกษางานเดิม เขียนผัง ระบบงานงานเดิม.
แม่แบบแผนการจัดการเรียนรู้
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ศิลปะการถักไหมจีน
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
 การสอนแบบอภิปราย.
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
สมาชิก 1.น.ส.ศรวณีย์ อินทร์วงศ์ เลขที่ 11
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
จุดมุ่งหมายของโครงการ Intel Teach to The Future
การเรียนรู้แบบโครงการ บูรณาการกระบวนการกลุ่ม
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
นวัตกรรมด้านการเรียนการสอน
รูปแบบการสอน.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
(Competency Based Curriculum)
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
ADDIE Model.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การเขียนรายงานผลการวิจัย
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
หลักสูตรประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จำรัส เพชรทับ
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ใช้ในFlip Album รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง(Change) ดร.อมรา เขียวรักษา

สมช.เปลี่ยนแปลงเพื่ออะไร

การเปลี่ยนแปลงในร่างกายเรา

การสร้างและสลาย กระบวนการสร้างและสลาย, กระบวนการสันดาปของร่างกาย หรือ เมแทบอลิซึม (metabolism) μεταβολισμος ("metabolismos"), ภาษากรีก มีความหมายว่า "เปลี่ยนแปลง" หรือ "โค่นล้ม" (Etymonline)) เป็นการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีของสารประกอบเคมีในสิ่งมีชีวิตในระดับเซลล์ ซึ่งประกอบด้วยกระบวนการชีวสังเคราะห์เพื่อการสร้างสารประกอบอินทรีย์ที่มีโมเลกุลใหญ่ขึ้น ซึงเรียกว่าแอแนบอลิซึม (anabolism) และในทางกลับกันกระบวนการย่อยสลาย ที่ทำให้โมเลกุลใหญ่เล็กลงเราเรียกว่าแคแทบอลิซึม (catabolism) กระบวนการสร้างและสลายตามปกติแล้วจะประกอบด้วยขั้นตอนการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ที่เรียกว่าเมแทบอลิก พาทเวย์ (metabolic pathway)

ร่วมอภิปราย ท่านกำลังจะสร้างอะไร และสลายอะไร อะไรเป็นตัวเร่งให้ท่านต้องทำเช่นนั้น

กิจกรรมประเมินตนเอง “ขั้นไหนแล้ว” จุดประสงค์: ให้เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงและประเมินตนเองได้ว่าอยู่ขั้นใด สื่อ :ใบความรู้เรื่องกระบวนการเปลี่ยนแปลงตามแนวคิดของโรโนลด์ แฮบล๊อกซ์ (Ronald Haveloce) กิจกรรม : ศึกษาใบความรู้เรื่องกระบวนการเปลี่ยนแปลง และประเมินตนเองว่า ตนเองมีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับเรื่องหลักสูตรขั้นไหน ประเมิน : ผลการประเมินตนเอง

สรุปกระบวนการเปลี่ยนแปลง6 ขั้นตอน ตามแนวคิด ของโรโนลด์ แฮบล๊อกซ์ (Ronald Haveloce) ขั้นการรับรู้(Awareness) ขั้นมีความสนใจ(Interest) ขั้นประเมินผล(Evaluation) ขั้นทดลอง(Trial) ขั้นการยอมรับ (Adaption) ขั้นนำไปใช้ (Integration)

กิจกรรม “ธรรมชาติของเรา” จุดประสงค์ :ให้เข้าใจธรรมชาติของคนกับบทบาทที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง โดยประเมินตนเองได้ว่าเป็นคนลักษณะใด และเกิดเจตคติที่ดีต่อการเปลี่ยนแปลง สื่อ : ใบความรู้ เรื่อง ธรรมชาติของคนกับการเปลี่ยนแปลง กิจกรรม: ศึกษาใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของคนกับการเปลี่ยนแปลง และประเมินตนเองว่า ตนเองมีลักษณะแบบไหน และลักษณะไหนที่ควรจะเป็นเพราะเหตุใด ช่วยให้เกิดผลดีต่อการพัฒนาหลักสูตรอย่างไร ประเมิน : จากการแสดงความคิดเห็นและผลการประเมินตนเอง

สรุป5ธรรมชาติของคน กับบทบาทที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง สรุป5ธรรมชาติของคน กับบทบาทที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง นักนวัตกรรมและผู้ปฏิบัติตาม ผู้ต่อต้าน ผู้รักษาผลประโยชน์ ผู้ตัดสินใจ ผู้นำทางความคิด

การเปลี่ยนแปลง(Change) ต่างจากการพัฒนา(development)อย่างไร

เราจะเปลี่ยนแปลงตนเองอย่างไร เพื่อให้เป็นนักพัฒนาหลักสูตรที่ดี ตามความคาดหวังของหลักสูตรระดับปริญญาเอก

การบ้าน แจกเอกสารความรู้เรื่อง สาระสำคัญของการพัฒนาหลักสูตร ของใจทิพย์ ดร.อุษา มอบภาระงานให้ศึกษาการจัดการศึกษาในประเทศต่างๆ เช่น อังกฤษ อเมริกา ญี่ปุ่น เวียดนาม ออสเตรเลีย ให้นำเสนอกลุ่มละครึ่งชั่วโมง ในสัปดาห์ที่ 3