การสื่อสารระหว่างบุคลากรสุขภาพกับผู้รับบริการ หมอ กับ คนไข้
การสื่อสารกับคนแปลกหน้า มิติทางอำนาจ และความสัมพันธ์ การสื่อสารความเสี่ยง ผู้รับสาร: Uncertainty reduction strategies ผู้ส่งสาร: Strategic ambiguity การจงใจสื่อสารให้คลุมเครือ Shadow of reality – การสื่อสารในฐานะ light source
หมอที่ดีควรจะมีลักษณะ... เข้าใจคน มีความน่าเชื่อถือ มีความซื่อสัตย์ พูดในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับ แคร์ต่อคนไข้
ความคาดหวังเบื้องต้นของคนไข้ หมอทำงานภายใต้กรอบวิชาชีพ (จรรยาบรรณแพทย์) หมอทุกคนมีความสามารถในการรักษาคนไข้ คนไข้ได้รับการดูแลทั้งคนและไข้ คนไข้ได้รับข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ คนไข้รู้สึกว่าสามารถ Control สถานการณ์ได้
ประเภทของความสัมพันธ์ระหว่างหมอกับคนไข้
การฟ้องร้องแพทย์ เหตุผลการฟ้องร้อง หมอไม่บอกว่าจะเกิดอะไรขึ้น เพื่อเป็นคดีตัวอย่าง เพื่อให้หมอชดใช้เป็นตัวเงิน 70 - 80% จากการสื่อสารระหว่างหมอกับคนไข้
จุดเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างหมอกับคนไข้ Rockefeller Foundation ยื่นเงื่อนไขตั้งโรงเรียนแพทย์ไทย จากการกุศล เป็น ทุนนิยม จากทฤษฎีแพทย์แผนไทย เป็น Germ theory จากมาตรฐานการแพทย์ของครู ของสำนัก เป็นมาตรฐานโรงเรียนแพทย์ จากการควบคุมด้วยจริยธรรม เป็นการควบคุมด้วยกฎหมาย (จรรยาบรรณ)
ปัญหาการสื่อสารกับหมอ คนไข้รู้สึกถูกทอดทิ้งเวลาที่มีอะไรผิดพลาดเกิดขึ้น หมอไม่เข้าใจมุมมองของคนไข้ หมอไม่ใส่ใจความคิดเห็นของคนไข้ หมอให้ข้อมูลที่คนไข้ฟังไม่รู้เรื่อง
คนไข้รู้สึกถูกทอดทิ้งเวลาที่มีอะไรผิดพลาดเกิดขึ้น ทำไมคนไข้จึงรู้สึกถูกทอดทิ้ง? ทำอย่างไรคนไข้จึงจะไม่รู้สึกถูกทอดทิ้ง?
หมอไม่เข้าใจมุมมองของคนไข้ ทำไมหมอไม่เข้าใจมุมมองของคนไข้? ทำอย่างไรคนไข้จึงจะไม่รู้สึกว่าหมอไม่เข้าใจเขา?
หมอไม่ใส่ใจความคิดเห็นของคนไข้ ทำไมหมอไม่ใส่ใจความคิดเห็นของคนไข้? ทำอย่างไรคนไข้จึงจะไม่รู้สึกว่าหมอไม่ใส่ใจความคิดเขา?
หมอให้ข้อมูลที่คนไข้ฟังไม่รู้เรื่อง ทำไมหมอพูดแล้วคนไข้ไม่รู้เรื่อง? ทำอย่างไรคนไข้จึงจะไม่รู้สึกว่าหมอพูดไม่รู้เรื่อง?
การสื่อสารในฐานะ Counselor
การสื่อสารของหมอกับคนไข้ในเมืองไทย หมอสื่อสารกับคนไข้คนเดียว หรือรวมคนอื่นๆ เช่น ครอบครัว ญาติ เพื่อนคนไข้ด้วย? (วัฒนธรรม) สถานภาพของหมอในสายตาคนไข้ในเมืองกับต่างจังหวัดเหมือน หรือแตกต่างอย่างไร? (วัฒนธรรม) พื้นฐานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์ของคนไข้? (ระบบการศึกษา)