ระบบการรายงาน 0110 รง.5 ปี 2550.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์
Advertisements

พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
แนวทางปรับระบบข้อมูล
การเงินการคลัง ปีงบประมาณ ๒๕๕๑. ระบบข้อมูลของปีเดิม  เริ่มระบบเมื่อเดือนเมษายน  ผลการส่งข้อมูล (เดือน กรกฎาคม) ผลการส่งข้อมูล  งบหน่วยงาน ๙๕%  งบลูกข่าย.
การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
ประสบการณ์จากงานบริการสารสนเทศ: ประโยชน์
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ปัญหาที่นำสู่การพัฒนา
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังจังหวัดกระบี่
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
สรุปผลการประชุมเชิงปฎิบัติ การ ตรวจสอบคุณภาพ การจัดการฐานข้อมูล 18 แฟ้ม วันที่ 30 มีนาคม 2552 ณ ห้องประชุม สสจ. น่าน.
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
หัวข้อที่ 3 การสื่อสารสร้าง ความเข้าใจ. ประเด็นการพิจารณา 1. ช่องทางการสื่อสาร / ระบบการสื่อสาร ระหว่าง - หน่วยงานกับเจ้าภาพ - หน่วยงานกับ กพร. - หน่วยงานกับหน่วยงานอื่นๆ.
คู่มือการใช้งานระบบ DOC รายงานผลการปฏิบัติราชการ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
แผนการพัฒนางานประปีงบประมาณ 2553
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
หลักเกณฑ์การคิดคะแนนประเมินผล
กองบัญชี สำนักการคลัง รับผิดชอบ ตัวชี้วัด ในมิติที่ 2
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การบริหารการเงินการคลัง
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
การจัดทำและรายงานข้อมูล แบบ  รง  ปีงบประมาณ 
การ Remove & Install Program Off Line กลุ่มสารสนเทศ สำนักพัฒนาระบบ บริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการ สุขภาพ.
สัญลักษณ์ การรณรงค์ มะเร็งเต้านม.
ชี้แจงรายงาน ปีงบประมาณ 2555
สำนัก เลขา. ผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือนตุลาคม 2548.
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
การนิเทศติดตาม.
สรุปผลการดำเนินงานการแพทย์แผนไทยโซน
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ระบบจัดเก็บและนำเสนอข้อมูล
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การพัฒนาโปรแกรม NAPHA EXTENSION
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
การบริหารงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงบประมาณ
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
เส้นทางสู่ “ ข้อมูลแข็งแรง ” ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก กรมอนามัย งานสารสนเทศ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
ประสบการณ์รพศ.อุดรธานี ในการเตรียมรับการประเมิน
งบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
การพัฒนาข้อมูลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการรายงาน 0110 รง.5 ปี 2550

ระบบการจัดทำข้อมูล การเปลี่ยนแปลงหลัก ปี 2548 ใช้ระบบ web ทั้งหมด ปี 2549-50 ใช้ระบบ offline (HealthDB )ใน การจัดทำข้อมูล ใช้ระบบweb สำหรับบริหารจัดการ และเผยแพร่ ข้อมูล

การเปลี่ยนแปลงหลัก ระบบการจัดทำข้อมูล ปี 2549 ระบบ offline (HealthDB49 V1.5) ในการจัดทำข้อมูล ปี 2550 ระบบ offline (HealthDB50_V1.0)

ระบบการจัดทำข้อมูล การเปลี่ยนแปลงหลัก ปี 2548 ส่วนกลาง ยืนยัน/ปลดยืนยัน ปี 2549-50 สสจ. สามารถ ยืนยัน/ปลดยืนยัน ภายในจังหวัดได้ ส่วนกลาง ยืนยัน/ปลดยืนยัน

การเปลี่ยนแปลงหลัก ข้อมูลใน 0110 รง.5 กิจกรรมสำคัญ ปรับลด /ปรับเพิ่ม

การเปลี่ยนแปลงหลัก ข้อมูลใน 0110 รง.5 รายงานการเงิน ปรับเพิ่มรายการในรายงาน 0110 รง 5

Username และ Password การเปลี่ยนแปลงหลัก Username คงเดิม เริ่มต้นปี 2550 Password ใน offline ไม่สามารถเปลี่ยนได้ Password ใน web เปลี่ยนได้

ระบบการจัดทำรายงาน 0110 รง.5 รายงานเป็นประจำทุกเดือน ระบบการจัดส่งรายงาน ใช้โปรแกรม HealthDB ในการจัดทำรายงาน ใช้ WebBase ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ที่ URL http://phdb.moph.go.th

ระบบการจัดทำรายงาน 0110 รง.5 ข้อมูลกิจกรรม 0110 รง.5 0110 รง.5 กิจกรรม 0110 รง.5 HealthDB ข้อมูลการเงิน 0110 รง.5 รูปแบบ งบทดลอง การเงิน ข้อมูล งบทดลอง แปลง file งบทดลอง

ระบบการจัดทำรายงาน 0110 รง.5 offline ระบบข้อมูล จังหวัด ข้อมูลกิจกรรม 0110 รง.5 ส่ง ข้อมูลการเงิน 0110 รง.5 ระบบจังหวัด download Web ระบบ 0110 รง.5 ไม่ส่ง ข้อมูล งบทดลอง

องค์ประกอบหลัก รายงานกิจกรรมสำคัญ รายงานการเงิน ระดับโรงพยาบาล ระดับไม่ใช่โรงพยาบาล รายงานการเงิน

หน่วยงานรายงานโรงพยาบาล(แม่ข่าย) จัดทำข้อมูลของ หน่วยงานระดับโรงพยาบาล ในฐานะแม่ข่าย 1 ชุด หน่วยงานระดับไม่ใช่โรงพยาบาล (สอ.+PCU) เป็นรายงานรวม 1 ชุด

หน่วยงานระดับโรงพยาบาล (ไม่ใช่แม่ข่าย) จัดทำข้อมูลของ หน่วยงานระดับโรงพยาบาล (หากมี) แห่งละ 1 ชุด หน่วยงานระดับไม่ใช่โรงพยาบาล (สอ.+PCU) เป็นรายงานรวม 1 ชุด หรือ ตามการจัดกลุ่มเครือข่าย

ตัดข้อมูลทุกสิ้นเดือน ส่งข้อมูลภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน ช่วงเวลาการรายงาน 0110 รง.5 ตัดข้อมูลทุกสิ้นเดือน ส่งข้อมูลภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน สสจ. ตรวจสอบข้อมูล ภายในวันที่ 15 ของทุกเดือน แก้ไขข้อมูลก่อนวันที่ 24 ของทุกเดือน

สรส. สสจ. สอ. สอ. ระบบการส่งรายงาน เครือข่ายบริการ PCU ยืนยันอัตโนมัติ วันที่ 24 ของเดือน สสจ. ตรวจสอบ(ยืนยัน) ยกเลิกยืนยัน วันที่ 15 ของเดือน เครือข่ายบริการ แก้ไข รวบรวม/จัดส่ง วันที่ 10 ของเดือน สอ. สอ. PCU

ระบบยืนยัน/ปลดยืนยัน ทำ ดูรายงาน ข้อมูล 0110 รง.5 ใน web สสจ. ยืนยัน ระหว่างเดือน แก้ข้อมูลเก่า สสจ.ปลด ยืนยัน ไม่ทำ สรส.ยืนยัน ทั้งประเทศ ตามตกลง ส่งข้อมูลใหม่

ระบบการ Feed Back เอกสารส่งให้รพ./สสอ. รายเดือน/ไตรมาส เอกสารส่งให้รพ./สสอ. รายเดือน/ไตรมาส สรุปจำนวนส่ง/ความทันเวลา สรุปจำนวนคุณภาพข้อมูล/ข้อสังเกต ผลการวิเคราะห์ รายไตรมาส นำเข้าที่ประชุม กวป.ทุกสิ้นเดือน

บุคลากร : เปลี่ยนผู้รับผิดชอบ การประสานงาน รพ.+สสอ. ปัญหาที่พบในปี 2549 ข้อมูล ความทันเวลา ความครบถ้วน ความถูกต้อง/คุณภาพข้อมูล บุคลากร : เปลี่ยนผู้รับผิดชอบ การประสานงาน รพ.+สสอ.

แนวทางการแก้ไขปัญหา ปี 2550 จัดทำ “ทำเนียบผู้รับผิดชอบรายงาน ”ขึ้น WEB กรณีเปลี่ยนผู้รับผิดชอบต้องทดแทนและแจ้งสสจ.ทราบ อบรมฟื้นฟูผู้รับผิดชอบ โดยเฉพาะด้านการเงิน สอ./สสอ. ประเมินผลการส่งข้อมูลทุกเดือน(Feed back) Ranking ตามตัวชี้วัด

อบรมฟื้นฟูผู้รับผิดชอบระดับสถานีอนามัย สสอ. จำนวนสถานีอนามัย แห่ง

Ranking ส่งทันเวลาภายในวันที่ 10 = 5 คะแนน ส่งภายในวันที่ 11 = 4 คะแนน ส่งทันเวลาภายในวันที่ 10 = 5 คะแนน ส่งภายในวันที่ 11 = 4 คะแนน ส่งภายในวันที่ 12 = 3 คะแนน ส่งภายในวันที่ 13 = 2 คะแนน ส่งภายในวันที่ 14 = 1 คะแนน ส่งหลังวันที่ 14 = 0 คะแนน

Ranking เริ่มประเมิน 10 มกราคม 2550 – 10 กันยายน 2550 (รวมข้อมูล 9 เดือน :ธันวาคม49-สิงหาคม50) = คะแนนเต็ม 9X5 = 45 คะแนน/รายงาน กรณีวันที่ 10 ตรงกับวันหยุด เริ่มนับวันถัดไป กรณีแก้ไขข้อมูล ดูที่เจตนา....