Process of transfromation from สอ. To รพสต. Sharing by W. Thanawat M.D.,M.P.A.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
OUTCOME MAPPING วัดให้ง่าย วัดให้ชัด วัดที่พฤติกรรม
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
(District Health System)
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การวางแผนยุทธศาสตร์.
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Process of transfromation from สอ. To รพสต. Sharing by W. Thanawat M.D.,M.P.A.

Objective of sharing. Review process of policy process: formulation implementation and evaluation. Case study of Banmoh hospital,Saraburi.

การเชื่อมการทำงานกับชุมชน ด้วยวิธี Outcome mapping Knowledge sharing by นพ. ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน พบ., รปม. ผอ. รพ. บ้านหมอ จ. สระบุรี

Outcome mapping การบูรณาการเพื่อเป้าหมายเดียวกัน ประชาชน ◦ พัฒนาบริการให้มีความครบถ้วนสะดวกรวดเร็ว ถูกต้อง ปลอดภัย โรงพยาบาล ◦ ลดความแออัด ◦ การลดความสูญเสียในระบบออกไป และเชื่อม รอยต่อของบริการ รัฐบาล ◦ ต้องการจัดตั้งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับ ตำบล

ทำไมต้องใช้ om ซับซ้อนมีผู้เกี่ยวข้องมากมาย หลักคิดที่ว่า การพัฒนานี้ จะยั่งยืนได้ ต้องเป็นความ ร่วมมือกับทุกฝ่าย

8 Steps of OM. 1. Vision 2. Mission 3. Partners 4. Outcome Challenges 5. Progress Marker 6. Strategy 7. Organizational Practices 8. Monitoring and Evaluation.

1.Vision: ประชาชนใน เครือข่ายนำร่อง ของ โรงพยาบาล ได้รับการตรวจรักษาที่ได้ มาตรฐาน ในโรคเรื้อรัง และโรคทั่วไป มี ระบบการให้คำปรึกษาที่สะดวก และ ทันสมัย ระบบการส่งต่อทั้งไปและกลับ ที่ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับโรงพยาบาล และ เป็นหน่วยบริการที่เป็นของประชาชนเอง

2.Mission 1. ค้นหาความต้องการของผู้มารับบริการ 2. พัฒนาระบบกระบวนการจัดทำ gate keeper ทั้งระบบ 3. สร้างเครือข่ายพัฒนา และความร่วมมืออัน ดีกับทุกภาคส่วน 4. สร้างค่านิยมอันดีในการดูแลสุขภาพของ ตนเอง และความเป็นเจ้าของการ ให้บริการสุขภาพกับทาง อปท.

3.Partners PartnersDirect PartnerStrategic Partner ทีมพัฒนาของ โรงพยาบาล สสอ. เจ้าหน้าที่ สอ. สสจ. องค์การปกครองส่วน ท้องถิ่น ทีมผู้ป่วยเรื้อรังในเขต ต. ตลาดน้อย ประชาชนทุกคน หน่วยงานอื่น ๆ ใน สังคม เช่น วัด หรือ โรงเรียน

4.Outcome challenge PartnersOCs. ทีมพัฒนาของ โรงพยาบาล มีทีมร่วมกันทำงาน เชื่อมความต้องการของ PCT ได้ ทีมงานเวชปฏิบัติชุมชน เป็นแกนนำในการพัฒนา มีส่วมร่วมในการพัฒนา ดุจเป็นเจ้าหน้าที่ที่อยู่ใน gate keeper นั้น เจ้าหน้าที่ สอ. ร่วมพัฒนา และวางระบบในทุกขั้นตอน ร่วมวางกำลังคน แผนการสนับสนุน ปฏิบัติงานในรูปแบบที่วางแผนร่วมกันได้อย่างดี องค์การปกครอง ส่วนท้องถิ่น มีความอยากที่จะทำงานสุขภาพ ด้วยตนเอง สนับสนุนงบประมาณ จัดกระบวนการทางสังคม ทำแผนการพัฒนาโดยมีทุกฝ่ายเข้ามาเกี่ยวข้อง

5.Progress Markers 1. Expect to see: 1. มีการประชุมร่วมกันระหว่าง โรงพยาบาล สสอ. สอ. และ อปท. 2. มีการเชื่อมข้อมูลจาก PCT ลงสู่ทีมวางแผน 3. ประชาคม และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ให้ คำแนะนำ 2. Like to see: 1. อปท. วางแผนกลยุทธ์ และ จัดทำแผนการ พัฒนาร่วมกัน 2. อปท. ร่วมสนับสนุนงบประมาณ 3. Love to see: 1. อปท. อื่น ๆ อยากพัฒนาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง เช่นเดียวกับ ที่นำร่อง 2. ประชาชนอยากที่จะมีส่วนร่วมในการจัดการ สุขภาพของตนเอง

6.Strategy Key persons สำคัญ คือ ประชาชนต้อง อยากที่จะได้บริการนี้ และความต้องการที่ อยากได้ ต้องเป็นไปในมาตรฐาน และ บริการที่สามารถให้ได้ แล้วการพัฒนาจะ ยั่งยืน เพราะสิ่งเดียวที่ไม่เปลี่ยนในชุมชน คือ ประชาชน แต่ทั้งโรงพยาบาล ( นโยบาย และการสนับสนุน ) และ อปท. ก็ต่างมีการ เปลี่ยนแปลง แต่การที่จะสื่อกับประชาชนได้ อปท. เป็น กลไกสำคัญที่สุดฉะนั้น สิ่งที่สำคัญที่สุดคือ การให้ อปท. มาเป็น Direct person ให้ได้ การขาย idea ที่ดี การประสานงานใน รูปแบบ informal มีความสำคัญมากที่สุด

7. Organizational Practices การจัดสรรทรัพยากรในภาพของ คปสอ. การพัฒนาทีมงานทั้งภาคเจ้าหน้าที่ ประชาชน และเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานอื่น ๆ การพัฒนา การสื่อสารต่อประชาชน และทีม ผู้นำชุมชน

8. Monitoring and Evaluation ปัจจุบัน ◦ ความร่วมมือของอปท. มาอยู่ในเกณฑ์สูงมาก ทั้งการสนับสนุนงบประมาณ และการพัฒนา กำลังคน ◦ กำลังอยู่ในช่วงเป็นพี่เลี้ยงการทำแผนร่วมกัน ของทั้ง รพ. อปท. สอ. โดย อปท. เป็นเจ้าภาพ ◦ ประชาชนมีการตอบรับที่ดีมาก และร่วมแสดง ความคิดเห็นต่อเนื่อง ◦ ทำประชาคม ได้รับข้อเสนอแนะ และเข้า ใจความคาดหวังมากขึ้น ◦ ผลที่เหนือความคาดหวัง : อปท. อื่น ๆ ขอเข้า ร่วมการทำงานกับทางโรงพยาบาลด้วยตนเอง

Sharing กับที่อื่น ๆ เพื่อพัฒนาและปรับปรุง บริการต่อไป KM is the important process of this step. And now we are sharing.

Thanks for your attentions.