การอ่านตามแนว PISA โดย วิไลวรรณ ชูรัตน์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

ปีนี้ สทศ.ออกข้อสอบอะไร อย่างไร
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผล การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา.
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ โรงเรียนมัธยมศึกษาทั้งระบบ
การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมทางภาษา
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน มัธยมศึกษาปีที่ 1
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
PISA คืออะไร เป็นโครงการประเมินผลนักเรียนระดับนานาชาติที่วัดทักษะและความสามารถของนักเรียนอายุ 15 ปี ด้าน การอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ประเมินต่อเนื่องกันทุก.
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
เครื่องมือประเมินจุดเน้น การคิดเลขเป็น คิดเลขคล่อง
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
โครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA 2012)
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
นโยบายการขับเคลื่อน ระบบการวัดและประเมินสมรรถนะผู้เรียน
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
ดร.อ่องจิต เมธยะประภาส รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
บท นำ ความ เป็นมา และ ความสำ คัญของ ปัญหา การเรียนการสอนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มี วัตถุประสงค์ประการหนึ่ง คือมุ่งปลูกฝังให้นักเรียน ได้ใฝ่รู้ใฝ่เรียนการปลูกฝังให้นักเรียนรักการอ่านจึงมี
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
รายงานผลการวิจัย.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการประกอบวงจรเสียงไซเรนตำรวจ
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
การใช้ข้อสอบกลางในการ สอบปลายปี
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอ่านตามแนว PISA โดย วิไลวรรณ ชูรัตน์

คือ โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ ของประเทศสมาชิกองค์กร PISA คืออะไร PISA มาจากคำว่า Programme for International Student Assessment คือ โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ ของประเทศสมาชิกองค์กร เพื่อ ความร่วมมือและพัฒนาเศรษฐกิจ ดำเนินการโดย OECD ( Organization for Economic Co-operation and Development )

ความเป็นมา ของ PISA เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี 1999 ( พ.ศ. 2541 ) เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี 1999 ( พ.ศ. 2541 ) มีประเทศเข้าร่วมโครงการ 65 ประเทศ ประเทศไทยเข้าร่วมโครงการเมื่อ ปี 2543 ประเทศเขตเศรษฐกิจเอเชียที่เข้าร่วม มี เกาหลี จีน-ฮ่องกง จีน-ไทเป ญี่ปุ่น สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ไทย ปี 2555 เพิ่ม มาเลเซีย เวียดนาม * ในปี 2555 จะเป็นการประเมินครั้งที่ 5 โดยจะทำการประเมินในเดือนสิงหาคม นี้

จุดประสงค์ของการประเมิน เพื่อ - หาตัวชี้วัดคุณภาพการศึกษาให้แก่ประเทศสมาชิกและประเทศที่เข้าร่วมโครงการ - ประเมินศักยภาพของนักเรียนที่มีอายุ 15 ปี ในการใช้ความรู้ ทักษะจำเป็น เพื่อเผชิญกับโลกในชีวิตจริง โดย ทำการประเมินต่อเนื่องทุกๆ 3 ปี

ผู้รับการประเมิน / ผู้เกี่ยวข้อง ผู้รับการประเมิน / ผู้เกี่ยวข้อง ผู้รับการประเมินคือ นักเรียนในระดับชั้น ม. 3, ม.4 ที่มีอายุ 15 ปี จาก โรงเรียนในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน โรงเรียนในสังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร โรงเรียนในสังกัดสำนักประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น โรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัย วิทยาลัยในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ประเมินอะไรบ้าง 1. ด้านการอ่าน ( Reading Literacy ) ทำการประเมินสมรรถนะ 3 ด้าน คือ 1. ด้านการอ่าน ( Reading Literacy ) 2. ด้านคณิตศาสตร์ ( Mathematic Literacy ) 3. ด้านวิทยาศาสตร์ ( Scientific Literacy) การประเมินแต่ละระยะเน้นหนักดังนี้ ระยะที่ 1 ( pisa 2000 /2009 ) เน้นการอ่าน 60% วิทยาศาสตร์ 20 % คณิตศาสตร์ 20% ระยะที่ 2 ( pisa 2003 / 2012 )เน้นคณิตศาสตร์ 60%วิทยาศาสตร์ 20% การอ่าน 20% ระยะที่ 3 ( pisa 2006 / 2015) เน้น วิทยาศาสตร์ 60% คณิตศาสตร์ 20% การอ่าน 20%

ลักษณะการประเมินของ PISA ไม่ถามเนื้อหาสาระโดยตรงตามหลักสูตร เน้นวัดสมรรถนะ 3 ด้าน คือ ด้านการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์ และ ด้านวิทยาศาสตร์ เน้นการคิดวิเคราะห์ และหาคำอธิบาย มีทั้งรูปแบบเลือกตอบและแบบเขียนตอบ คำถามเป็นปลายเปิด ซึ่งนักเรียนต้องสะท้อนความคิดของตนออกมาเป็นคำตอบ การให้คะแนนขึ้นกับเหตุผลของการตอบ คำตอบต่างกัน อาจได้คะแนนเต็มเหมือนกันอยู่ที่เหตุผลที่สอดคล้อง คำอธิบายสมเหตุสมผล

การอ่านตามแนว PISA (Reading Literacy ) การอ่านเพื่อการเรียนรู้ตามแนว PISA มีความหมายมากกว่าการอ่านเพื่อเข้าใจความหมายของคำ ของข้อความ แต่เป็นการอ่านที่ ....... 1. การค้นสาระ ( Retrieving Information) เป็นความสามารถติดตามความหมายที่สกัดเอาสาระ ของสิ่งที่อ่านออกมาได้ 2. การตีความ (Interpretation ) เป็นความเข้าใจข้อความที่ได้อ่าน สามารถตีความ แปลความสิ่งที่อ่านได้ คิดวิเคราะห์เนื้อหาและรูปแบบของข้อความที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆในชีวิตจริงและในโลก 3. การวิเคราะห์ (Reflection and Evaluation ) เป็นความเข้าใจข้อความที่อ่าน สามารถตีความแปลความ วิเคราะห์เนื้อหาสิ่งที่อ่านแล้วประเมินข้อความที่อ่าน แสดงความคิดเห็น โต้แย้งได้ด้วยความคิดตนเอง

รูปแบบข้อสอบการอ่าน เป็นการอ่านข้อความแบบต่อเนื่อง จำแนกข้อความแบบต่างๆกัน เช่น การบอกเล่า การพรรณนา การโต้แย้ง อ่านรายการ กราฟ แผนภูมิ แบบฟอร์ม ตาราง เนื้อหายึดสิ่งที่พบเห็นในโรงเรียน ในสังคม ในโลก ซึ่งต้องใช้ในชีวิตจริงเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ แบบทดสอบ แบ่งเป็นชุดเล็กๆ ทุกชุดมีความยากง่ายเท่ากัน นักเรียนแต่ละคนจะได้ทำข้อสอบประมาณ 37-38 ข้อ กำหนดเวลา 2 ชั่วโมง ( ข้อสอบมี 141 ข้อความ ใช้เวลารวม 7 ชั่วโมง )

ผลการประเมิน ปี 2552 ผลการประเมินการอ่าน ผลการประเมิน ปี 2552 ผลการประเมินการอ่าน จีน ได้คะแนนเฉลี่ย 556 คะแนน เกาหลี ฟินแลนด์ รองลงมา ฮ่องกง ญี่ปุ่น สิงคโปร์ ติดอันดับ 1 ใน 10 ไทย เฉลี่ย 421 ลำดับในกลุ่ม 47-51 จาก 65 ประเทศ ผลการประเมินคณิตศาสตร์ จีน คะแนนเฉลี่ย 600 รองลงมา สิงคโปร์ ฮ่องกง เกาหลี ญี่ปุ่น 1 ใน 10 ไทย เฉลี่ย 496 คะแนน อยู่ในกลุ่ม 48-52 จาก 65 ประเทศ ผลการประเมินวิทยาศาสตร์ ไทย คะแนนเฉลี่ย 425 คะแนน อยู่ในกลุ่ม 47- 49 จาก 65 ประเทศ

นี่คือนาฬิกาปลุกให้ครูไทยจงตื่นเถิด ผลการวิจัยของ สสวท. ผลการวิจัยของ สสวท. พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อ การเรียนรู้ของนักเรียนไทย การขาดแคลนครูทุกวิชา การกวดวิชานอกโรงเรียนไม่ส่งผลต่อการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน การใช้ ICT ที่ไม่ส่งเสริมการเรียนรู้ มีใช้มากแต่ไม่เป็นประโยชน์ต่อการเรียน การมีทรัพยากรที่มีคุณภาพ มีผลต่อคะแนนที่สูงขึ้น เช่น ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ ห้องเรียนคณิตศาสตร์ ห้องเรียนภาษา ห้องสมุด ครูมีความพร้อม ส่งผลให้นักเรียนมีคะแนนสูง ขาดการสนับสนุนกลุ่มโรงเรียนที่อ่อนแอ ซึ่งเป็นกลุ่มใหญ่ของประเทศ นี่คือนาฬิกาปลุกให้ครูไทยจงตื่นเถิด

การกำหนดเกณฑ์การประเมินการอ่าน PISA สมรรถนะค้นสาระ ( Retrieving information ) - ค้นหาหรือสรุปสาระสำคัญจากเรื่องที่อ่าน กลยุทธ์การเข้าถึงและค้นคืนสาระ ( Access and retrieve ) - สามารถดึงสาระสิ่งที่ได้อ่านออกมา - สามารถตอบคำถามด้วยการเลือกตอบ หรือเขียนข้อความ เลือกตอบได้อย่างถูกต้อง หรือเขียนข้อความได้ครบถ้วนตรงตามสาระ