Knowledge Management KM จุลชัย จุลเจือ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Knowledge Management (KM)
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
The Power of Communication
Crisis Management A I C.
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
ทรัพยากรมนุษย์และชุมชน (Perspectives of HCRD)
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
พัฒนาบุคลากร (Human Resources Development)
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
Knowledge Management (KM)
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
Communities of Practice (CoP)
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
Participation : Road to Success
มาตรฐานการควบคุมภายใน
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
อาจารย์ ดร.ฐิติพร ชมภูคำ กรรมการและเลขานุการหลักสูตร MBA
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การบริหารและกระบวนการวางแผน
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
Business Intelligence (BI) ธุรกิจอัจฉริยะ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Knowledge Management KM จุลชัย จุลเจือ

วิกฤติองค์กร กับทางออก 9 มาตรการ ลดค่าใช้จ่าย ลด OT ลดเวลาทำงาน ลดเงินเดือน ลดคนงาน ลดแผนก/ลดงาน เลิกจ้าง หยุดกิจการชั่วคราว เลิกกิจการ

การทำงานที่ไม่ประสบความสำเร็จ พึ่งดวง หวงอำนาจ ญาติอุปถัมภ์ ทำคนเดียว เขี้ยวลากดิน กินไก่วัด งัดข้อกับคน จ้อทั้งวัน ขยันโง่ อวดตัวซ่า

พฤติกรรมการทำงานที่ไม่เหมาะสมดูได้จาก.... ลาป่วยเป็นนิจ ลากิจเป็นประจำ การงานชอบเลี่ยง ส่งเสียงชวนคุย ทำชุ่ยอยู่เสมอ พอเผลอมักหลับ ชอบกลับก่อนเวลา มาสายตลอดปี มีธุระตลอดวัน สุมกันนินทานาย

What we changed …! Technology Change Strategic Change The way we work; work methods Strategic Change The way we do business; a company’s strategy, vision and mission Structural Change The way we organize; reorganization, re-shuffle manpower Developmental Change The way we train and develop our people; learning methods Cultural Change The way we behave; a company’s shared values and aims

กลยุทธ์เพื่อการพัฒนา-ปรับปรุง Strategy for Development & Improvement Trial & Error Benchmarking Best Practice Innovation

ตัวอย่าง Culture องค์กรต่างๆ ค่านิยมองค์กร CP-RAM The AXA Values บริษัท เคมีภัณฑ์ซิเมนต์ไทย จำกัด D-HABIT 3 C’s for EASY BUY Staff DHL 7 Values VOLVO Way เสาหลักของ TOYOTA WAY ICC MINEBEA

การบริหารจัดการความรู้ “ ระบบการบริหารจัดการความรู้ให้เป็นระเบียบครบถ้วนง่ายต่อการเรียกใช้ จัดเก็บตามความ ต้องการ และการเก็บรักษาความรู้ให้ควบคู่กับ องค์กรตลอดไป โดยนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการ”

วัตถุประสงค์ในการจัดการความรู้ เพิ่มประสิทธิภาพและผลงานทั้งในระดับบุคคล หน่วยงาน และบริษัท ลดระยะเวลาในการดำเนินการเรื่องต่างๆ ป้องกันการสูญเสียความรู้ของบริษัท สนับสนุนและส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับบุคลากร เพิ่มความพึงพอใจในการทำงานแก่พนักงาน เริ่มกันที่เรามาทราบถึงวัตถุประสงค์ในการจัดการความรู้ของบริษัทกันก่อนว่ามีเหตุผลใดถึงมีความจำเป็นที่ต้องนำการจัดการความรู้เข้ามาประยุกต์ใช้ในบริษัทของเรา โดยวัตถุประสงค์หลักมีด้วยกันอยู่ 5 ประการได้แก่ เพิ่มประสิทธิภาพและผลงานทั้งในระดับบุคคล หน่วยงาน และบริษัท ลดระยะเวลาในการดำเนินการเรื่องต่างๆ ป้องกันการสูญเสียความรู้ของบริษัท สนับสนุนและส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับบุคลากร เพิ่มความพึงพอใจในการทำงานแก่พนักงาน โดยมีรายละเอียดดังนี้

Knowledge Hierarchy Wisdom Knowledge Information Data

การสร้างและพัฒนาระบบ Knowledge Management : KM 1.การวางแผนกลยุทธทางด้านความรู้ (Knowledge strategy) 2.การถ่ายทอดความรู้ (Knowledge Transfer) 3.การสร้างความร่วมมือ (Communities of practice) 4.การเพิ่มคุณค่า (Add Value of KM) 5.การเรียนรู้เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Learning and KM)

กระบวนการเปลี่ยนแปลง 1. การสื่อสารให้เข้าใจถึงสาเหตุที่ต้องเปลี่ยนแปลง 2. กำหนดเป้าหมาย 3. สร้างและกำหนดทางเลือก 4. วางแผน : ปฏิบัติการตามแผน 5. เสริมแรงให้กับความเปลี่ยนแปลง 6. ประเมินผล

กิจกรรมที่นิยมใช้ในการสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กร เปิดห้องคุย มุมกาแฟ มุมหนังสือ การอบรม สัมมนา การจัดนิทรรศการ การจัดบอร์ด ผู้บริหารประชุม เดือนละครั้ง/15 วันครั้ง เชิญวิทยากรมาบรรยาย การรับประทานอาหารร่วมกัน คัดเลือกพนักงานดีเด่น ฯลฯ

เทคนิค วิธีการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิควิธีการสร้างการมีส่วนร่วม ที่นำไปใช้ในการพัฒนา 1. A-I-C Appreciation – Influence – Control 2. Mindmap to Mindscape 3. Vipp Visualization in Participatory Planning

A-I-C เป็นวิธีที่ง่าย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ สำหรับการวางแผนพัฒนาชุมชน หรือหมู่บ้าน และยังเป็นเครื่องมือระดมความคิดเห็นได้ด้วย

กระบวนการ 1. ขั้นการสร้างความรู้ A : Appreciation 2. ขั้นการสร้างแนวทางการพัฒนา I : Influence 3. ขั้นการสร้างแนวทางการปฏิบัติ C : Control

จุดดี & จุดอ่อน จุดดี เน้นถึงการยอมรับและการชื่นชม ถือเป็นพื้นฐานสำคัญของการมีส่วนร่วมและการพัฒนา และเป็นวิธีการที่ง่ายต่อการนำไปปฏิบัติจริง จุดอ่อน มีความเป็นอุดมคติสูง อาจมีความยากในการเริ่มต้นของกิจกรรม ผู้นำกิจกรรมจะต้องสื่อสารให้ชัดเจน การสนทนาในกิจกรรมอาจ มีปัญหาเรื่องตำแหน่งหน้าที่การงานที่สูงกว่า

Mindmap To Mindscape เป็นเครื่องมือทางความคิดที่ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว เพียงแต่ใช้จินตนาการของผู้เข้ารวมในการวาดภาพ Mindscrap เพื่อถ่ายทอดความคิดในลักษณะคล้ายภาพต้นไม้

Vipp (Visualization in Participatory Planning) กระบวนการ Vipp แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน 1. การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 2. การเขียนยุทธศาสตร์ 3. การนำเอาบทสรุปมาวิเคราะห์

จุดดี & จุดอ่อน ของ vipp เป็นทางเลือกใหม่ของระบบการสัมมนา ที่เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น และมีความรู้สึกการเป็นเจ้าของสูง ทั้งยังสามารถเห็นถึงความคืบหน้าของกระบวนการได้โดยตลอด จุดอ่อน วิธีการนี้ไม่เหมาะกับกลุ่มสัมมนาที่มีจำนวนน้อย หรือกลุ่มที่มีจำนวนมากแต่มีเวลาน้อย