Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
Risk Management JVKK.
การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
โดย ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา
Microsurgery Clinical Tracer Division of Plastic Surgery
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ทบทวนให้ถึงแก่น น.พ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing)
การพัฒนาคุณภาพทางคลินิก นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Risk management รศ.นพ.จรัล กังสนารักษ์.
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
หมวด2 9 คำถาม.
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
25/07/2006.
Cancer in Thailand Cancer in Thailand 2003.
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การประเมินตนเองตามมาตรฐานตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI)
การเขียนข้อเสนอโครงการ
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
Quality Improvement Track
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
1 Quality Improvement Tract สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน )
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
Service Profile บริการ/ทีม: ……………………………. โรงพยาบาลนครปฐม
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
PCT ทีมนำทางคลินิก.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด Template สำหรับการบันทึก Service Profile ชุดนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นทางเลือกสำหรับทีมงานต่างๆ จะนำไปใช้บันทึกข้อมูลที่ทางทีมงานจัดทำไว้ หรือกำลังจะเริ่มจัดทำใหม่ แนวคิดสำคัญที่เป็นพื้นฐานของการออกแบบ template นี้ได้แก่ 1) การสรุปข้อมูลสำคัญในลักษณะ One Page Summary 2) การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน และการเชื่อมโยงกับข้อมูลที่มีรายละเอียดเพิ่มขึ้น 3) ความสามารถในการเพิ่มเติมข้อมูลหรือปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย ซึ่งทำได้ง่าย 4) Service ในที่นี้อาจจะเป็นโครงสร้างในระดับใดก็ได้ เช่น OPD, OPD อายุรกรรม, คลินิกเบาหวาน ขึ้นกับเอกลักษณ์ของการทำงานของโครงสร้างดังกล่าว ที่สำคัญคือควรใช้ Core Values เรื่อง Customer Focus และ Teamwork เป็นหลักสำคัญในการกำกับวิธีคิดและการตัดสินใจ 5) ทีมในที่นี้อาจจะเป็น Clinical Lead Team, Patient Care Team หรือทีมอื่นๆ ที่ต้องการวิเคราะห์งานของตนเองอย่างเป็นระบบ ข้อความใน Notes Page เหล่านี้สามารถลบออกได้และบันทึกข้อมูลในส่วนที่เป็นคำขยายความของทีมงานเองแทน วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด

บริบท (Context) บริการ/ทีม: ความมุ่งหมาย (Purpose): ขอบเขตบริการ (Scope of Service): ความต้องการของผู้รับผลงานสำคัญ: ความต้องการในการประสานงานภายในที่สำคัญ: ลักษณะสำคัญของงานบริการและปริมาณงาน: ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ (Key Quality Issues): บริบท (context) คือการทำความเข้าใจลักษณะเฉพาะของหน่วยงานเอง อาจจะเป็นลักษณะภายในหรือสิ่งแวดล้อมของการทำงานก็ได้ หัวข้อที่กำหนดให้ไว้เป็นแนวทางในการพิจารณา ทั้งนี้การพิจารณาว่าลักษณะหรือปัจจัยใดที่จะมีความสำคัญ ควรมุ่งเน้นพิจารณาว่าอะไรที่มีความสำคัญต่อการออกแบบวิธีการทำงาน การวางแผน การตัดสินใจ ทีมงานควรแปลความหมายของข้อมูลมาเป็นสารสนเทศที่ให้ความหมาย เช่น ในหัวข้อศักยภาพและข้อจำกัดในด้านผู้ปฏิบัติงาน แทนที่จะระบุเพียงจำนวนของผู้ปฏิบัติงานที่สำคัญ ควรจะมองตนเองให้ออกว่าเมื่อเทียบกับภาระความรับผิดชอบแล้ว ผู้ปฏิบัติงานที่มีอยู่มีความเพียงพอหรือไม่ มีอะไรที่เป็นศักยภาพหรือข้อเด่น และมีอะไรที่เป็นข้อจำกัด หัวข้อสุดท้ายที่เพิ่มเติมเข้ามาคือประเด็นการสร้างเสริมสุขภาพที่เกี่ยวข้อง มีเป้าหมายเพื่อกระตุ้นให้หน่วยงานพิจารณาถึงโอกาสในการนำแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพมาปฏิบัติในลักษณะบูรณาการกับงานประจำ เช่น ปัญหาสุขภาพสำคัญ, intervention, แนวคิดการทำงาน ความท้าทายและความเสี่ยงที่สำคัญ ศ้กยภาพและข้อจำกัดในด้านผู้ปฏิบัติงาน เครื่องมือ เทคโนโลยี ประเด็นการสร้างเสริมสุขภาพที่เกี่ยวข้อง:

วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด การพัฒนา ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ บริการ/ทีม: วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด การพัฒนา ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ /ความท้าทายที่สำคัญ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดและผลลัพธ์ (Link) กิจกรรมพัฒนา (Link) ตัวชี้วัด..... เรื่อง...... วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด การพัฒนา เป็นหน้าสำคัญที่จะแสดงความเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ กับเป้าหมายหลักของบริการ/ทีม ข้อมูลที่บันทึกในหน้านี้จะเป็นเพียงหัวข้อสั้นๆ และสามารถ link ไปสู่รายละเอียดในเรื่องตัวชี้วัดและกิจกรรมพัฒนาที่เกี่ยวข้องได้ ตัวอย่างการตรวจสอบความเชื่อมโยง 1) เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของหน่วยงาน สอดคล้องกับประเด็นคุณภาพที่สำคัญและความท้าทายที่สำคัญของหน่วยงานหรือไม่ 2) ตัวชี้วัดสำคัญ สามารถระบุการบรรลุเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของหน่วยงานได้หรือไม่ 3) กิจกรรมพัฒนาคุณภาพต่างๆ สอดคล้องและจะนำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของหน่วยงานได้หรือไม่

แผนภูมิกระบวนการทำงาน บริการ/ทีม: แผนภูมิกระบวนการทำงาน (รวมทั้งความเสี่ยงและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอน) แผนภูมิกระบวนการทำงาน คือการระบุขั้นตอนสำคัญในการทำงานของหน่วยงาน/ทีมงาน ซึ่งอาจจะใช้ Top-down Flowchart หรือ Process Flowchart หรือ Deployment Flowchart ก็ได้ ความสำคัญอยู่ที่การวิเคราะห์กระบวนการทำงานโดยใช้ผู้ป่วยหรือผู้รับบริการเป็นหลัก เพื่อให้ครอบคลุมขั้นตอนสำคัญของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ในแผนภูมิเดียวกัน ทีมงานสามารถระบุความเสี่ยงสำคัญในแต่ละขั้นตอน และตัวชี้วัดสำคัญที่เกี่ยวข้องกับขั้นตอนดังกล่าว ซึ่งจะช่วยสื่อความเข้าใจให้สมาชิกของทีมได้ดียิ่งขึ้น

กิจกรรมทบทวนคุณภาพ บริการ/ทีม: Team Specific Activities Combination Hospital-wide การทบทวนข้างเตียง (C3THER) การทบทวนคำร้องเรียน การทบทวนเมื่อส่งต่อ / ขอย้าย / ปฏิเสธการรักษา การทบทวนโดยผู้ชำนาญกว่า การทบทวนการติดเชื้อในโรงพยาบาล การทบทวนความคลาดเคลื่อนทางยา/ผลไม่พึงประสงค์จากยา การทบทวนเหตุการณ์สำคัญ / เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ การทบทวนเวชระเบียน กิจกรรมทบทวนคุณภาพ หน้านี้เป็นเสมือนสารบัญที่จะ link ไปสู่รายละเอียดของกิจกรรมทบทวนต่างๆ ซึ่งใน template นี้ได้ทำ link ไว้ให้แล้วเพื่อความสะดวก บริการ/ทีมงานที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานคลินิกบริการสามารถลบ slide ในส่วนนี้ออกได้ทั้งหมด การจัดแบ่งกิจกรรมทบทวนเป็น 3 กลุ่ม เพื่อช่วยให้ทีมเห็นชัดเจนว่างานใดเป็นสิ่งที่จะต้องทำด้วยตนเอง งานใดเป็นสิ่งที่จะต้องทบทวนร่วมกับระบบใหญ่ของโรงพยาบาล ซึ่งไม่จำเป็นว่าจะต้องเป็นไปตามที่จัดกลุ่มไว้เสมอไป การทบทวนการใช้ข้อมูลวิชาการ (Scientific Evidence Review) การทบทวนการใช้ทรัพยากร (UR) การทบทวนตัวชี้วัด (KPI Review)

กลุ่มประชากรทางคลินิกที่สำคัญ (Key Clinical Population) บริการ/ทีม: กลุ่มประชากรทางคลินิกที่สำคัญ (Key Clinical Population) Example: Acute Appendicitis กลุ่มประชากรทางคลินิกที่สำคัญ อาจจะเป็นโรค หัตถการ หรือประชากรที่มีปัญหาสุขภาพสำคัญซึ่งทีมงานมีส่วนรับผิดชอบในการดูแล และสามารถใช้ในการตามรอยหรือประเมินคุณภาพการดูแลผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวได้ เกณฑ์ในการระบุความสำคัญอาจจะเป็นเกณฑ์ใดก็ได้ เช่น ความถี่สูง ความรุนแรงสูง ค่าใช้จ่ายสูง มีความแตกต่างในวิธีการดูแลรักษา มีความท้าทายบางอย่าง มีความสำเร็จในการพัฒนา ทีมงานไม่ควรจำกัดเกณฑ์ในการระบุความสำคัญอยู่เพียงเฉพาะความถี่ (เช่น การเลือกด้วยเกณฑ์ top 5) เท่านั้น จำนวนกลุ่มประชากรทางคลินิกที่นำมาระบุไว้ ไม่อาจระบุได้ชัดเจนตายตัว แต่ควรครอบคลุมกลุ่มผู้ป่วยสำคัญในความรับผิดชอบของทีมงานให้มากที่สุด และอยู่ในวิสัยที่สามารถวิเคราะห์คุณภาพของผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวได้ หน้านี้เป็นเสมือนสารบัญที่จะ link ไปสู่รายละเอียดเกี่ยวกับคุณภาพของการดูแลผู้ป่วยในกลุ่มนั้นๆ

ตัวชี้วัด: บริการ/ทีม: กราฟ/control chart/ข้อมูล ตัวชี้วัด เป็นการนำเสนอข้อมูลที่เป็นผลลัพธ์ของการ monitor ผลงานตามที่ระบุไว้ วิธีการนำเสนอที่ดีที่สุดคือการนำเสนอในลักษณะของ control chart ซึ่งมีการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ค่า upper & lower control limit ในช่วงเวลาต่างๆ ทำให้เห็นแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงและการธำรงระดับคุณภาพได้ชัดเจน ข้อมูลที่นำเสนอควรเป็นข้อมูลที่ update ที่สุดที่สามารถทำได้ ทีมงานควรนำเสนอการวิเคราะห์ การแปลผลและการใช้ประโยชน์จากตัวชี้วัดดังกล่าวเพื่อให้เห็นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น การแปลผลและการใช้ประโยชน์

บทเรียนจากการพัฒนา บริการ/ทีม: เรื่อง: ปัญหา/โอกาสพัฒนา วัตถุประสงค์ การปรับปรุง/เปลี่ยนแปลง ผลลัพธ์ บทเรียนจากการพัฒนา เป็นเสมือนบันทึก CQI story ซึ่งทีมงานสามารถใช้ประโยชน์ในการเผยแพร่และแลกเปลี่ยนบทเรียนในการทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การพัฒนาคุณภาพอาจจะใช้ model อะไรก็ได้ ที่ง่ายที่สุดคือ ตั้งเป้า – เฝ้าดู - ปรับเปลี่ยน - PDSA สิ่งที่สำคัญไม่ใช่การอธิบายขั้นตอนการพัฒนา และเป็นการระบุว่าในการพัฒนานั้นส่งผลให้เกิดการปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างไร และผลลัพธ์เป็นอย่างไร

การทบทวนข้างเตียง บริการ/ทีม: วิธีการ / ความถี่ / ผู้เข้าร่วม ความครอบคลุม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กรณีตัวอย่าง

การทบทวนเมื่อส่งต่อ ขอย้าย ปฏิเสธการรักษา บริการ/ทีม: การทบทวนเมื่อส่งต่อ ขอย้าย ปฏิเสธการรักษา วิธีการ / ความถี่ / ผู้เข้าร่วม ความครอบคลุม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กรณีตัวอย่าง

การทบทวนโดยผู้ชำนาญกว่า บริการ/ทีม: การทบทวนโดยผู้ชำนาญกว่า วิธีการ / ความถี่ / ผู้เข้าร่วม ความครอบคลุม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กรณีตัวอย่าง

การทบทวนการใช้ข้อมูลวิชาการ บริการ/ทีม: การทบทวนการใช้ข้อมูลวิชาการ วิธีการ / ความถี่ / ผู้เข้าร่วม ความครอบคลุม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กรณีตัวอย่าง

การทบทวนตัวชี้วัด บริการ/ทีม: วิธีการ / ความถี่ / ผู้เข้าร่วม ความครอบคลุม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กรณีตัวอย่าง

การทบทวนการติดเชื้อในโรงพยาบาล บริการ/ทีม: การทบทวนการติดเชื้อในโรงพยาบาล วิธีการ / ความถี่ / ผู้เข้าร่วม ความครอบคลุม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กรณีตัวอย่าง

การทบทวนความคลาดเคลื่อนทางยา/ผลไม่พึงประสงค์จากยา บริการ/ทีม: การทบทวนความคลาดเคลื่อนทางยา/ผลไม่พึงประสงค์จากยา วิธีการ / ความถี่ / ผู้เข้าร่วม ความครอบคลุม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กรณีตัวอย่าง

การทบทวนเหตุการณ์สำคัญ บริการ/ทีม: การทบทวนเหตุการณ์สำคัญ วิธีการ / ความถี่ / ผู้เข้าร่วม ความครอบคลุม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กรณีตัวอย่าง

การทบทวนเวชระเบียน บริการ/ทีม: วิธีการ / ความถี่ / ผู้เข้าร่วม ความครอบคลุม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กรณีตัวอย่าง

การทบทวนการใช้ทรัพยากร บริการ/ทีม: การทบทวนการใช้ทรัพยากร วิธีการ / ความถี่ / ผู้เข้าร่วม ความครอบคลุม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กรณีตัวอย่าง

การทบทวนคำร้องเรียน บริการ/ทีม: วิธีการ / ความถี่ / ผู้เข้าร่วม ความครอบคลุม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กรณีตัวอย่าง

Clinical Tracer: Ac Appendicitis Risk Prevention Form/CPG/ CareMap Link KPI Link CQI Link Research Link Care Process Entry Initial Assessment Consultation Predictive value of US Investigation Delayed/missed diagnosis Patho. Diag. confirmed Use of clinical sign Diagnosis Planning Observation Undetected change Operation Anesthesia OR Transfer Preop Care หน้านี้เป็น One Page Summary สำหรับการทำความเข้าใจคุณภาพการดูแลผู้ป่วยกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เป็นเสมือนภาพสรุปของการตามรอยทางคลินิก (clinical tracing) อาจต้องมีหน้าที่ขยายรายละเอียดของข้อมูลตามความเหมาะสม เช่น มาตรการในการป้องกันปัญหาสำคัญ ตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพ รูปแบบในการเขียนอาจจะดัดแปลงแตกต่างจากตัวอย่างข้างต้นได้ เช่น อาจจะใช้ flow chart เป็นตัวหลักในการเดินเรื่องด้วยการขยายให้เต็มหน้า และระบุข้อมูลหรือตัวเชื่อมโยงไว้ตรงขั้นตอนที่เกี่ยวข้อง Anesthesia Anes complication Operative Procedure Delayed operation “Door to operation” time Postanes Care Postop care & monitoring SSI SSI rate D/C plan Follow up