พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
Advertisements

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
นโยบายด้านบริหาร.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
DHS.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ งานพัฒนาคุณภาพบริการ กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพบุคลากรและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา 12 ธันวาคม 2556

ที่มา 1. (ร่าง) ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.2557 – 2560 (เฉพาะ Strategic Focus) ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ 2. ยุทธศาสตร์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ให้มีมาตรฐานและคุณภาพ เชื่อมโยงบริการ ภายใต้การจัดการทรัพยากรที่ดี

เป้าหมาย เครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการปฐมภูมิมีคุณภาพตามพันธกิจเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์องค์กร โดยมีภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม หน่วยบริการระดับทุติยภูมิ และหน่วยบริการปฐมภูมิของจังหวัดสงขลามีคุณภาพมาตรฐาน เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพและร่วมกับภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดบริการสุขภาพและสร้างเสริมสุขภาพ หน่วยบริการปฐมภูมิเขตเมืองของจังหวัดสงขลามีคุณภาพมาตรฐาน ประชาชนได้รับการดูแบบองค์รวมในการจัดบริการสุขภาพและสร้างเสริมสุขภาพ

เครือข่ายบริการปฐมภูมิ กลวิธี : สนับสนุนพัฒนาคุณภาพ วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. เครือข่ายบริการปฐมภูมิ เครือข่ายบริการปฐมภูมิและหน่วยบริการปฐมภูมิของจังหวัดสงขลามีคุณภาพมาตรฐาน 1.พัฒนาและส่งเสริมให้เครือข่ายบริการปฐมภูมิและหน่วยบริการ ปฐมภูมิของจังหวัดสงขลามีการพัฒนาองค์กรอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง 1.1 พัฒนาทีมพัฒนาคุณภาพระดับอำเภอ /จังหวัด 1.2 เยี่ยมและจัดการเรียนรู้พัฒนาระดับโซน ระดับ CUP 1.3 ลงเยี่ยมพัฒนาใน CUPและ หน่วยบริการปฐมภูมิ 1.4 ประเมิน CUPและหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามที่แสดงความจำนง 1.5 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับจังหวัด พัฒนาทีมพัฒนาคุณภาพระดับอำเภอ และจัดการเยี่ยมเพื่อร่วมสร้างการเรียนรู้และพัฒนา ประเมินตนเองและพัฒนาคุณภาพตามโอกาสพัฒนาเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์และตามเป้าหมายขององค์กร พัฒนาทีมพัฒนาคุณภาพ ระดับอำเภอ เพื่อเยี่ยมพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิๆประเมินตนเอง พาทำคุณภาพในงานประจำ เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ

เครือข่ายบริการปฐมภูมิ กลวิธี : สนับสนุนพัฒนาคุณภาพ วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. เครือข่ายบริการปฐมภูมิ เครือข่ายบริการปฐมภูมิและหน่วยบริการปฐมภูมิของจังหวัดสงขลามีคุณภาพมาตรฐาน 2.พัฒนาและส่งเสริมคุณภาพเครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอ 2.1 ประขุมผู้บริหารการพัฒนาพัฒนาทีมพัฒนาคุณภาพระดับอำเภอ /จังหวัด 2.2 ประชุมหัวหน้ากลุ่มงาน/งานในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด(บูรณาการ PCA HA) 2.3 ประชุมพัฒนา 2.3 ลงเยี่ยมพัฒนาอำเภอ/โซน

เครือข่ายบริการปฐมภูมิ กลวิธี : สนับสนุนพัฒนาคุณภาพ วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. เครือข่ายบริการปฐมภูมิ เพื่อพัฒนาระบบเครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ(DHS) 1.พัฒนาและส่งเสริมให้หน่วยบริการปฐมภูมิเขตเมือง มีการพัฒนาคุณภาพอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง 1.1 ถ่ายทอดนโยบายและสนับสนุนให้มีระบบงานที่ประสานกับทุกภาคส่วน 1.2 ร่วมประชุมกรรมการปฐมภูมิเขตเมือง 1.3 จัดการประชุมและลงเยี่ยมพัฒนาคุณภาพร่วมกัน 1.4 เยี่ยมและจัดการเรียนรู้ระหว่างหน่วยบริการปฐมภูมิเขตเมือง ถ่ายทอดนโยบายและสนับสนุนให้มีระบบงานที่ประสานกับทุกภาคส่วน กรรมการฯ ร่วมวางแผน กำกับติดตาม ประเมินผล CUP สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาเชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ(DHS) ประเมินตนเองและวางแผนพัฒนาคุณภาพตามโอกาสพัฒนา

เครือข่ายบริการปฐมภูมิ กลวิธี : สนับสนุนพัฒนาคุณภาพ วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. เครือข่ายบริการปฐมภูมิ ประชาชนได้รับการดูแบบองค์รวม ในการจัดบริการสุขภาพและสร้างเสริมสุขภาพ พัฒนาและส่งเสริมให้เครือข่ายบริการปฐมภูมิและหน่วยบริการปฐมภูมิ มีการพัฒนานักสุขภาพครอบครัว ประสาน หน่วยงานผู้ผลิต ดำเนินการพัฒนาพยาบาลวิชาชีพในหน่วยบริการปฐมภูมิได้รับการอบรมหลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติ (NP) จัดให้มีการพัฒนานักสุขภาพครอบครัว ส่งพยาบาลวิชาชีพในหน่วยบริการปฐมภูมิได้รับการอบรมหลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติ (NP)

เครือข่ายบริการปฐมภูมิ กลวิธี : สนับสนุนพัฒนาคุณภาพ วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. เครือข่ายบริการปฐมภูมิ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเสริมพลังผู้ปฏิบัติงาน ประชุมเพื่อติดตามและร่วมพัฒนา ทุก 2 เดือน จัดเวทีประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาคุณภาพในระดับจังหวัด (มค และ กพ.57) จัดเวทีประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับอำเภอ

ผลลัพธ์ 1. ทุกเครือข่ายบริการปฐมภูมิและหน่วยงานปฐมภูมิมีการพัฒนาคุณภาพ 1. ทุกเครือข่ายบริการปฐมภูมิและหน่วยงานปฐมภูมิมีการพัฒนาคุณภาพ ผ่านตามมาตรฐาน PCA (อย่างน้อยขั้น 2) 2. ศสม. มีการพัฒนาคุณภาพและจัดบริการครอบคลุมประชากรใน เขตเมือง OP ในรพ.ระดับ A S M1 M2 F1 F2 อย่างน้อยลดจากปี 2555 (มากกว่า 5 %) 4. ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในพื้นที่ที่รับผิดชอบลงทะเบียนรับการรักษาที่ ศสม./รพ.สต. มากกว่าร้อยละ ๕๐ ทุกอำเภอมีระบบเครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ(DHS) หน่วยบริการปฐมภูมิมีนักสุขภาพประจำครอบครัวที่ผ่านการอบรมและให้การดูแลประชาชนแบบองค์รวม 7. หน่วยบริการปฐมภูมิมีพยาบาลวิชาชีพที่ได้รับการอบรมพยาบาล เวชปฏิบัติ