พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ งานพัฒนาคุณภาพบริการ กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพบุคลากรและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา 12 ธันวาคม 2556
ที่มา 1. (ร่าง) ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.2557 – 2560 (เฉพาะ Strategic Focus) ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ 2. ยุทธศาสตร์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ให้มีมาตรฐานและคุณภาพ เชื่อมโยงบริการ ภายใต้การจัดการทรัพยากรที่ดี
เป้าหมาย เครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการปฐมภูมิมีคุณภาพตามพันธกิจเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์องค์กร โดยมีภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม หน่วยบริการระดับทุติยภูมิ และหน่วยบริการปฐมภูมิของจังหวัดสงขลามีคุณภาพมาตรฐาน เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพและร่วมกับภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดบริการสุขภาพและสร้างเสริมสุขภาพ หน่วยบริการปฐมภูมิเขตเมืองของจังหวัดสงขลามีคุณภาพมาตรฐาน ประชาชนได้รับการดูแบบองค์รวมในการจัดบริการสุขภาพและสร้างเสริมสุขภาพ
เครือข่ายบริการปฐมภูมิ กลวิธี : สนับสนุนพัฒนาคุณภาพ วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. เครือข่ายบริการปฐมภูมิ เครือข่ายบริการปฐมภูมิและหน่วยบริการปฐมภูมิของจังหวัดสงขลามีคุณภาพมาตรฐาน 1.พัฒนาและส่งเสริมให้เครือข่ายบริการปฐมภูมิและหน่วยบริการ ปฐมภูมิของจังหวัดสงขลามีการพัฒนาองค์กรอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง 1.1 พัฒนาทีมพัฒนาคุณภาพระดับอำเภอ /จังหวัด 1.2 เยี่ยมและจัดการเรียนรู้พัฒนาระดับโซน ระดับ CUP 1.3 ลงเยี่ยมพัฒนาใน CUPและ หน่วยบริการปฐมภูมิ 1.4 ประเมิน CUPและหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามที่แสดงความจำนง 1.5 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับจังหวัด พัฒนาทีมพัฒนาคุณภาพระดับอำเภอ และจัดการเยี่ยมเพื่อร่วมสร้างการเรียนรู้และพัฒนา ประเมินตนเองและพัฒนาคุณภาพตามโอกาสพัฒนาเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์และตามเป้าหมายขององค์กร พัฒนาทีมพัฒนาคุณภาพ ระดับอำเภอ เพื่อเยี่ยมพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิๆประเมินตนเอง พาทำคุณภาพในงานประจำ เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ
เครือข่ายบริการปฐมภูมิ กลวิธี : สนับสนุนพัฒนาคุณภาพ วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. เครือข่ายบริการปฐมภูมิ เครือข่ายบริการปฐมภูมิและหน่วยบริการปฐมภูมิของจังหวัดสงขลามีคุณภาพมาตรฐาน 2.พัฒนาและส่งเสริมคุณภาพเครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอ 2.1 ประขุมผู้บริหารการพัฒนาพัฒนาทีมพัฒนาคุณภาพระดับอำเภอ /จังหวัด 2.2 ประชุมหัวหน้ากลุ่มงาน/งานในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด(บูรณาการ PCA HA) 2.3 ประชุมพัฒนา 2.3 ลงเยี่ยมพัฒนาอำเภอ/โซน
เครือข่ายบริการปฐมภูมิ กลวิธี : สนับสนุนพัฒนาคุณภาพ วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. เครือข่ายบริการปฐมภูมิ เพื่อพัฒนาระบบเครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ(DHS) 1.พัฒนาและส่งเสริมให้หน่วยบริการปฐมภูมิเขตเมือง มีการพัฒนาคุณภาพอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง 1.1 ถ่ายทอดนโยบายและสนับสนุนให้มีระบบงานที่ประสานกับทุกภาคส่วน 1.2 ร่วมประชุมกรรมการปฐมภูมิเขตเมือง 1.3 จัดการประชุมและลงเยี่ยมพัฒนาคุณภาพร่วมกัน 1.4 เยี่ยมและจัดการเรียนรู้ระหว่างหน่วยบริการปฐมภูมิเขตเมือง ถ่ายทอดนโยบายและสนับสนุนให้มีระบบงานที่ประสานกับทุกภาคส่วน กรรมการฯ ร่วมวางแผน กำกับติดตาม ประเมินผล CUP สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาเชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ(DHS) ประเมินตนเองและวางแผนพัฒนาคุณภาพตามโอกาสพัฒนา
เครือข่ายบริการปฐมภูมิ กลวิธี : สนับสนุนพัฒนาคุณภาพ วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. เครือข่ายบริการปฐมภูมิ ประชาชนได้รับการดูแบบองค์รวม ในการจัดบริการสุขภาพและสร้างเสริมสุขภาพ พัฒนาและส่งเสริมให้เครือข่ายบริการปฐมภูมิและหน่วยบริการปฐมภูมิ มีการพัฒนานักสุขภาพครอบครัว ประสาน หน่วยงานผู้ผลิต ดำเนินการพัฒนาพยาบาลวิชาชีพในหน่วยบริการปฐมภูมิได้รับการอบรมหลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติ (NP) จัดให้มีการพัฒนานักสุขภาพครอบครัว ส่งพยาบาลวิชาชีพในหน่วยบริการปฐมภูมิได้รับการอบรมหลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติ (NP)
เครือข่ายบริการปฐมภูมิ กลวิธี : สนับสนุนพัฒนาคุณภาพ วัตถุประสงค์ กิจกรรม สสจ. เครือข่ายบริการปฐมภูมิ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเสริมพลังผู้ปฏิบัติงาน ประชุมเพื่อติดตามและร่วมพัฒนา ทุก 2 เดือน จัดเวทีประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาคุณภาพในระดับจังหวัด (มค และ กพ.57) จัดเวทีประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับอำเภอ
ผลลัพธ์ 1. ทุกเครือข่ายบริการปฐมภูมิและหน่วยงานปฐมภูมิมีการพัฒนาคุณภาพ 1. ทุกเครือข่ายบริการปฐมภูมิและหน่วยงานปฐมภูมิมีการพัฒนาคุณภาพ ผ่านตามมาตรฐาน PCA (อย่างน้อยขั้น 2) 2. ศสม. มีการพัฒนาคุณภาพและจัดบริการครอบคลุมประชากรใน เขตเมือง OP ในรพ.ระดับ A S M1 M2 F1 F2 อย่างน้อยลดจากปี 2555 (มากกว่า 5 %) 4. ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในพื้นที่ที่รับผิดชอบลงทะเบียนรับการรักษาที่ ศสม./รพ.สต. มากกว่าร้อยละ ๕๐ ทุกอำเภอมีระบบเครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ(DHS) หน่วยบริการปฐมภูมิมีนักสุขภาพประจำครอบครัวที่ผ่านการอบรมและให้การดูแลประชาชนแบบองค์รวม 7. หน่วยบริการปฐมภูมิมีพยาบาลวิชาชีพที่ได้รับการอบรมพยาบาล เวชปฏิบัติ