Breastfeeding in Thailand

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในทัณฑสถานหญิงจังหวัดเชียงใหม่
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
โครงการส่งเสริมการออมภาคครัวเรือนเกษตรกร ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
บทบาทของชุมชนต่อโรงเรียน
การดำเนินงานสาธารณสุขจากอดีตถึงปัจจุบัน
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
การส่งเสริมทันต สุขภาพในอนาคต มุมมองของนัก โภชนาการ สง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขระดับ 9 กรมอนามัย.
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
ตัวชี้วัดสำคัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา วันที่ 26 พฤศจิกายน
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
บทที่ 1 บทนำ โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
“เยาวชนมีความมั่นคง แข็งแรง ดี มีสุข และสร้างสรรค์”
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
ดร.สมพร หวานเสร็จ ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
Evaluation of Thailand Master Plan
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
ความร่วมมือกับกรมการปกครอง
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Breastfeeding in Thailand นพ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา กรรมการสุขภาพแห่งชาติ

คำขวัญพระราชทานสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร

The 2009 Reproductive Health Survey โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ

เหตุผลการไม่สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ที่มา : The 2009 Reproductive Health Survey โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ

ข้อแนะนำจาก WHO ให้มารดาให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพียงอย่างเดียว โดยไม่ได้ให้อาหารอื่นผสมอย่างน้อย 6 เดือน เนื่องจาก ช่วยพัฒนาการเจริญเติบโตของสมองอย่างเต็มที่ ทำให้ลูกได้รับสารอาหารที่จำเป็นอย่างเหมาะสมและเจริญเติบโตสมวัย มีพัฒนาการด้านอารมณ์ที่ดี มีความฉลาดทางอารมณ์ ช่วยส่งเสริมสายสัมพันธ์ระหว่างแม่และลูก เพิ่มภูมิต้านทาน ช่วยลดความเสี่ยงในการติดเชื้อและลดโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ลดปัญหาอาการท้องผูก กระตุ้นการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่ช่วยการย่อยอาหารในทางเดินอาหาร

ปัจจัยที่มีผลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ๖ เดือน ระยะเวลาในการลาคลอดได้จริงของลูกจ้างหญิง ทัศนคติ ทักษะและเทคนิคของแม่และคนในครอบครัว นโยบายที่ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เช่น การจัดห้องสำหรับให้นมบุตร หรือ การให้หยุดพักเพื่อปั๊มนม15 ความเข้มงวดของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น หลักการตลาดว่าด้วยอาหารทารกและเด็กเล็ก พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 การขาดความรู้ และความตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของแม่และคนในสังคม กระบวนการสื่อสาธารณะ/แผนการรณรงค์ที่ขาดประสิทธิภาพ รวมถึงสื่อ โฆษณา ของนมกระป๋องที่ทำให้เกิดความเข้าใจผิด

การจ่ายค่าจ้างในช่วงการลาคลอด ของประเทศในอาเซียน

ข้อเสนอแนะ การสร้างความรู้ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการสนับสนุนกระบวนการนโยบายส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพียงอย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน เช่น ข้อมูลความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ในเชิงสังคม เศรษฐกิจ และสุขภาพ ระหว่างการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน กับการเลี้ยงลูกด้วยนมผงและข้อมูลเกี่ยวกับทัศนคติและความเข้าใจเกี่ยวกับการลาคลอดและการให้นมแม่ในสังคมไทยของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การศึกษาวิจัย ในมิติทางด้านสังคม จิตวิทยา ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของมารดาและผู้เกี่ยวข้อง การขับเคลื่อนทางสังคม เพื่อสร้างความตระหนัก ความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน ประชาชนทั่วไป และกลุ่มเป้าหมาย เช่น แม่และคนในครอบครัวบุคลากรทางการแพทย์ และผู้กำหนดนโยบาย

ข้อเสนอแนะ การพัฒนามาตรการและนโยบาย เพื่อสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน เช่น กฎหมายควบคุมการตลาดของนมผง และกฎหมายขยายการลาคลอดจาก 90 วันเป็น 180 วันพร้อมได้รับค่าจ้างเต็มจำนวนในช่วงลาคลอด และผลักดันให้มีการบังคับใช้กฎหมายที่มีอยู่อย่างจริงจัง พร้อมกำหนดบทลงโทษ การสนับสนุนให้ชุมชนท้องถิ่นได้ตระหนักรู้ถึงความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชน

สวัสดี