โดย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
ตำบลนาตงวัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
นวัตกรรมที่ได้รับการคัดเลือกให้จัดนิทรรศการ
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
สำนักวิชาการและแผนงาน
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
สรุปผลการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย
สรุปการประชุม เขต 10.
พัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพ ระบบเครือข่ายบริการสุขภาพแบบบูรณาการ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
สรุปผลการดำเนินงานฯ ปีงบ 2556
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
สรุปผลงานตามตัวชี้วัด ร้อยละ รพ.สต.ที่ดำเนินงาน คบส. ประจำปี 2555
ปี2554 หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน % มัธยฐาน ไมโครกรัมต่อลิตร สสจ. อุดรธานี ; 2554,2555 ผลการตรวจปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อหาภาวการณ์ขาดสารไอโอดีน.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ไพรินทร์ บุตรแสนลี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
1.CKD clinic : คลินิกชะลอไตเสื่อม
สรุปผลการประเมินกองทุนฯ ปี 2555 จ.หนองบัวลำภู แยกรายอำเภอ (แห่ง)
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
เรื่องแจ้ง กวป. เดือน ธันวาคม 2556 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัช สาธารณสุข.
ประชุมการพัฒนาและจัดตั้งเครือข่าย R2R อีสานตอนบน ครั้งที่ 2/2554 วันพฤหัสบดีที่ 15 ธันวาคม ( ผ่านระบบ E-Meeting) 1 ณ ห้องประชุม 2 สำนักงานหลักประกัน.
ระบบส่งต่อเขต 11 และเครือข่าย
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
รอบที่ 2 ปีงบประมาณ สรุปตามมิติทาง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์กร ร้อยละ 22 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 15 คุณภาพการบริการ ร้อยละ 22 ประสิทธิผลตาม.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
ที่ดิน 200 ไร่ จังหวัดอุดรธานี ของคุณเปรมศักดิ์ ภู่ม่วง
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
นโยบายการทำงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์ ประจำปี 2558
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
การเลือกตั้งผู้แทนพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตามหนังสือ สธ ว 152 ลว
แนวทางการดำเนินงาน แพทย์แผนไทย ปี 57
รายงานผลการดำเนินงานตามคำมั่นการปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ระหว่าง เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนมกราคม 2556 งานพัฒนาบุคลากร กลุ่มพัฒนาวิศวกรรม.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี การประชุม สร้างเครือข่ายพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพ การตรวจทางห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุข หน่วยบริการปฐมภูมิ เขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่8 ครั้งที่ 1/2556 โดย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 ณ ห้องประชุมวีนัส โรงแรมพาราไดซ์ จังหวัดอุดรธานี โดย ทนพญ.จินตนา ว่องวิไลรัตน์ นักเทคนิคการแพทย์ชำนาญการพิเศษ

นโยบายกระทรวงสาธารณสุข รพ.สต. ศสม. พ.ศ.2555 นโยบายกระทรวงสาธารณสุข รพ.สต. ศสม. พ.ศ.2555 การพัฒนาศักยภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่ รับผิดชอบประชากรตั้งแต่ 8,000 คน เพื่อเป็นรพ.สต.แม่ข่าย พัฒนาศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง เพื่อให้ประชาชนในเขตเมืองและประชากรในเขตชุมชนหนาแน่นสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างรวดเร็ว มีคุณภาพ ลดความแออัด ในรพศ./รพท. โดยทำหน้าที่เป็นหน่วยปฐมภูมิ ที่จัดตั้งในเขต เทศบาลเมือง/นคร/เขตชุมชนหนาแน่น ในความรับผิดชอบ รพศ./รพท. จัดทำโดยทนพญ.จินตนา ว่องวิไลรัตน์

ตัวชี้วัดการพัฒนารพ.สต./ศสม. มีบริการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการสำหรับโรคเบื้องต้น/โรคเรื้อรัง และมีระบบส่งต่อสำหรับสิ่งส่งตรวจ ไปยังรพ.แม่ข่าย ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง * ร้อยละของผู้ป่วยมีการลงทะเบียนที่รพ.สต./ศสม. เพิ่มขึ้นร้อยละ10 เพื่อลดความแออัดของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในรพ.แม่ข่ายโดยการย้ายกลับ รพ.สต./ศสม. * ร้อยละของจำนวนผู้ป่วย..ในรพ.แม่ข่ายที่ส่งกลับไปรับการดูแลที่ รพ.สต./ศสม. เพิ่มขึ้น * ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 30มกราคม2555 จัดทำโดยทนพญ.จินตนา ว่องวิไลรัตน์

จัดทำโดยทนพญ.จินตนา ว่องวิไลรัตน์ มีบริการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการสำหรับโรคเบื้องต้น/โรคเรื้อรัง และมีระบบส่งต่อสำหรับสิ่งส่งตรวจไปยังรพ.แม่ข่าย คำอธิบาย วิธีการวัด รพ.สต./ศสม. สามารถดำเนินการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ เช่น Hct, CBC, U/A, FBS, Blood chemistry ฯลฯ ในกรณีที่ไม่สามารถดำเนินการได้ ต้องมีระบบส่งสิ่งส่งตรวจไปยังรพ.แม่ข่ายและสามารถส่งผลการตรวจกลับมายัง รพ.สต./ศสม. ที่สะดวกและรวดเร็ว เช่นแจ้งผลกลับทางระบบ online หรือ มีรถรับส่งตัวอย่างสิ่งส่งตรวจ จากรพ.สต./ศสม. ไปยังรพ.แม่ข่าย รายงานการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการสำหรับโรคเบื้องต้น/โรคเรื้อรังและมีระบบส่งต่อสำหรับสิ่งส่งตรวจไปยังโรงพยาบาลแม่ข่าย 30มกราคม2555 จัดทำโดยทนพญ.จินตนา ว่องวิไลรัตน์

โครงการพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขของหน่วยบริการปฐมภูมิปี 2555-2558 วัตถุประสงค์ 1. พัฒนาศักยภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิ ให้มีขีด ความสามารถในตรวจชันสูตรทางห้องปฏิบัติการที่เหมาะสม กับปัญหาสาธารณสุขของประเทศ 2. ควบคุมคุณภาพและประเมินผลการตรวจด้วยชุดทดสอบ อย่างง่ายทางห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขในหน่วย บริการปฐมภูมิ กลุ่มเป้าหมาย 1. เป้าหมายระยะ 4 ปี หน่วยบริการปฐมภูมิทั่วประเทศ จำนวน 9,767 แห่ง เขต10 จำนวน 559 แห่ง 2. เป้าหมายปี 2555 หน่วยบริการปฐมภูมิขนาดใหญ่ จำนวน 1,215แห่ง และหน่วยบริการปฐมภูมิที่สมัครร่วม โครงการ

สรุปผลกิจกรรมโครงการปี 2555 1.สำรวจ/จัดฐานข้อมูลการตรวจชันสูตร รพ.สต.-ศสม. 2.จัดทำหนังสือวิธีการตรวจและคู่มือเก็บตัวอย่าง 3.อบรมวิธีการตรวจ ชันสูตรจำนวน 4 รายการ 4.ส่งตัวอย่าง QC sample จำนวน 4 รายการ - Glucose ระดับปกติ และ ผิดปกติ - Hematocrit ระดับปกติและ ผิดปกติ - Sugar /Protein urine ระดับผิดปกติ - Pregnancy test ตัวอย่างบวก 5.ประเมินและจัดทำสรุปผลรายงานการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงานระดับประเทศ/เขต10 กิจกรรม ประเทศ เขต10 ประชุมเครือข่ายLAB/สสจ - 51/5 มา48/1 สำรวจศักยภาพรพสต/ศสม รพสต-ญ./ศสม. ส่ง559 ส่ง 89 ตอบ 398 ตอบ70 (78%) รพสต/ศสม. สมัครร่วมโครงการ 1,266 229 เข้าร่วมอบรมการตรวจ 1,680 376 ประเมินความรู้ก่อนอบรมคะแนนเต็ม๑๐ ส่งผลประเมิน 320 คะแนน 2-10เฉลี่ย 7.16 แจกคู่มือการตรวจ(เล่ม) 2,100 376, LABรพ.51 รวม 427เล่ม

สรุปประเมินผลการจัดอบรม เนื้อหาหลักสูตร เหมาะสม 90.30 % วิทยากรบรรยายเหมาะสม 89.12 % เวลาบรรยาย เหมาะสม 77.50 % วิทยากรกลุ่มเหมาะสม 87.42 % เวลาฝึกกลุ่มเหมาะสม 83.56 % รูปแบบการฝึกเหมาะสม 86.29 % คู่มือ เอกสารเหมาะสม 85.15 % -ประโยชน์ที่ได้รับ 91.74%

ผลการดำเนินงานระดับประเทศ/เขต10 กิจกรรม ประเทศ เขต10 สมัครเป็นสมาชิกการประเมินคุณภาพแห่ง - 297 ส่งตัวอย่างควบคุมคุณภาพ 1,623แห่ง ตอบ 297 สอบเทียบHematocrit Centrifuge 145 เครื่อง

ร้อยละของหน่วยบริการปฐมภูมิที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจชันสูตรเขต10

กิจกรรมทั่วประเทศ ปี 2556 1. กลุ่มเป้าหมายเดิม 1,266 แห่ง (ร้อยละ 13 ) 1. กลุ่มเป้าหมายเดิม 1,266 แห่ง (ร้อยละ 13 ) เป้าหมายใหม่ 2,931 แห่ง (ร้อยละ 30) 2.จัดทำหนังสือวิธีการตรวจฉบับที่ 2 3.อบรมวิธีการตรวจด้านเทคนิคการแพทย์ 4.ส่งตัวอย่าง QC sample 4 รายการจำนวน 2 รอบ - Glucose/Hemoglobin - Hematocrit - Sugar /Protein urine - Pregnancy test 5.ประเมินและจัดทำสรุปผลรายงานการดำเนินงาน

โครงการพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพการตรวจทางห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขของหน่วยบริการปฐมภูมิเขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่8 ปีงบประมาณ2556 ผลลัพธ์ ร้อยละ43ของหน่วยบริการปฐมภูมิ 909 แห่ง เป้าหมาย หน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวน 391 แห่ง ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ:จำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิได้รับการอบรมความรู้การตรวจชันสูตรทางห้องปฏิบัติการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเป้าหมาย ( 313 แห่ง ) ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ:ร้อยละ 70 ของหน่วยบริการปฐมภูมิ (รพ.สต.ขนาดใหญ่ 111/ศสม. 22 แห่งรวม 133 แห่ง)) เข้าร่วมการประเมินคุณภาพงานที่ให้บริการตรวจ ได้เองในจำนวน 4 รายการทดสอบ

ข้อมูล ศสม.และรพ.สต. เขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่8 ข้อมูล ศสม.และรพ.สต. เขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่8 จังหวัด จำนวนศสม. (แห่ง) ขนาด รพสต.(แห่ง) รวม (แห่ง) ใหญ่ กลาง เล็ก อุดรธานี 6 44 138 27 215 หนองคาย 2 11 55 8 76 บึงกาฬ 1 7 43 62 หนองบัวลำภู 9 71 (ศสช.5 แห่ง) 89 เลย 77 42 128 สกลนคร 32 127 23 188 นครพนม 3 70 81 155 22 111 577 199 913

เป้าหมายดำเนินการพัฒนา ศสม.และรพ.สต. ปี 2556 เป้าหมายดำเนินการพัฒนา ศสม.และรพ.สต. ปี 2556 จังหวัด จำนวนศสม. (แห่ง) ขนาด รพสต.(แห่ง) ศวกที่ 8 สนับสนุน (แห่ง) สสจ. สนับสนุนเพิ่ม(แห่ง) รวม ใหญ่ กลางและเล็ก อุดรธานี 6 44 43 93 - หนองคาย 2 11 20 33 76 บึงกาฬ 1 7 19 27 5 32 หนองบัวลำภู 9 25 36 53 89 เลย 47 56 สกลนคร 81 นครพนม 3 63 67 22 111 260 393 101 494

จังหวัดอุดรธานี ศสม./รพ.สต. อำเภอ 1.ศสม. รพ.อุดรธานี2 เมือง 3. โนนสูง 2.ศสม. รพ.อุดรธานี1 4. เชียงยืน 3.ศสม. วัดป่าโนนนิเวศน์ 5. เชียงพิณ 4. ศสม. 6. หนองไฮ 5. ศสม. 7. ปากดง (นิคมสงเคราะห์) 6. ศสม. 8. บ้านขาว 1.หนองบัว 9. หนองใส 2. หนองหมื่นท้าว 10. หนองขอนกว้าง

จังหวัดอุดรธานี ศสม./รพ.สต. อำเภอ 11. กุดสระ เมือง 19. หนองเม็ก หนองหาน 12. หนองนาคำ 20. สะแบง 13. สามพร้าว 21. พังงู 14.บ้านเลื่อม 22. กลางใหญ่ บ้านผือ 15. หมูม่น 23. สร้างแป้น กุดจับ 16. บ้านบ่อทอง 24. แซแล (เมืองพรึก) กุมภวาปี 17. ผักตบ 25. พันดอน 18. บ้านเชียง 26. เชียงแหว

จังหวัดอุดรธานี ศสม./รพ.สต. อำเภอ 27. บุ่งหมากลาน กุมภวาปี 34. ทรายมูล บ้านดุง 28.เฉลิมพระเกียรติฯนาม่วง ประจักษ์ศิลปาคม 35. ศรีเจริญ 29. บ้านเหล่า เพ็ญ 36. สระแก้ว 30. โนนสว่าง หนองวัวซอ 37. บ้านโนนอุดม 31. โนนหวายใต้ 38. จอมศรี 32. กุดดอกคำ โนนสะอาด 39. สุมเส้า 33. หนองแคน ไชยวาน 40. บ้านธาตุ

จังหวัดอุดรธานี ศสม./รพ.สต. อำเภอ 41. โพนสูงเหนือ บ้านดุง 43. หนองแวง น้ำโสม 42. นาไหม 44. หนองกรุงทับม้า วังสามหมอ

จังหวัดหนองคาย ศสม./รพ.สต. อำเภอ 1.ศสม. รพ.หนองคาย 2 เมือง 6. นาหนัง โพนพิสัย 2.ศสม. 1 (เทศบาล) 7. เฝ้าไร่ เฝ้าไร่ 1. วัดธาตุ 8. วังหลวง 2. หาดคำ 9. กุดแคน 3. พระธาตุบังพวน 10 นาทับไฮ รัตนวาปี 4. กองนาง ท่าบ่อ 11. บ้านฝาง สระใคร 5. เซิม

จังหวัดบึงกาฬ ศสม. / รพ.สต. อำเภอ 1.ศสม. รพ.บึงกาฬ เมือง 1. หนองเลิง 2. โนนสมบูรณ์ 3. วิศิษป์ 4. โพธิ์หมากแข้ง บึงโขงหลง 5. หนองพันทา โซ่พิสัย 6. ซาง เซกา 7. ท่าสะอาด

จังหวัดหนองบัวลำภู ศสม./รพ.สต. อำเภอ 1.ศูนย์แพทย์ชุมชน รพ.หนองบัวลำภู เมือง 5. บ้านโป่งแค นากลาง 2.ศสม.บ้านห้วยลึก 6. ร่องน้ำใส 1. นามะเฟือง 7. บ้านนากอก ศรีบุญเรือง 2. หัวนา 8. บ้านโนนปอแดง สุวรรณคูหา 3. หนองแก 9. ศรีวิชัย 4. บ้านโนนม่วง

จังหวัดเลย ศสม. / รพ.สต. อำเภอ 1.ศสม. รพ.เลย สาขาสุขศาลา (ตลาดแลง) เมือง 2.ศสม. รพ.เลย สาขากุดป่อง 1. นาอาน 2. เพชรเจริญ 3. นาอ้อ 4. โคกสว่าง วังสะพุง 5. โนนสว่าง 6. ทรายขาว 7. เหมืองแบ่ง

จังหวัดสกลนคร ศสม./รพ.สต. อำเภอ 1.ศสม.วัดแจ้ง (รพ.สกล2) เมือง 3.ฮางโฮง 2.ศสม.ธาตุเชิงชุม 4.เชียงเครือวัดใหญ่ 3. ศสม.สว่างแดนดิน 5.หนองปลาน้อย 4. ศสม. 6.พังขว้างใต้ 5. ศสม. 7.วังยาง พรรณานิคม 6. ศสม. 8.บ้านโนนเรือ 1.ดงมะไฟสามัคคี 9.บ้านพอกน้อยพัฒนา 2.สร้างแก้วสมานมิตร 10.บ้านดง พังโคน

จังหวัดสกลนคร ศสม./รพ.สต. อำเภอ 11.คำบิด วาริชภูมิ 18.บ้านหนองกวั่ง บ้านม่วง 12.บ้านโนนอุดม วานรนิวาส 19.บ้านโพนงาม อากาศอำนวย 13.บ้านโพนแพง 20.หนองสามขา 14.บ้านหนองฮาง 21.บ้านกลาง 15.ปานเจริญ 22.สร้างแป้น สว่างแดนดิน 16.บ้านดงสง่า เจริญศิลป์ 23.คำสะอาดพัฒนา 17.บ้านนางเติ่ง ภูพาน 24.

จังหวัดสกลนคร ศสม./รพ.สต. อำเภอ 25. 32. 26. 27. 28. 29. 30. 31.

จังหวัดนครพนม ศสม. / รพ.สต. อำเภอ 1.ศสม.สวนชมโขง เมือง 2.ศสม.ท้ายเมือง 3. ศสม.ธาตุพนม ธาตุพนม 1.โชคอำนวย

งบประมาณผู้รับผิดชอบ กรอบการดำเนินงาน ปี2556 กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ งบประมาณผู้รับผิดชอบ 1 ประชุมผู้เกี่ยวข้องเครือข่ายเพื่อการพัฒนา รพ.สต. ประเมินผลและการควบคุมคุณภาพครั้งที่1 มค-กพ. 782,200 ศวก.ที่8 อุดรธานี 2 สำรวจศักยภาพและปริมาณชุดทดสอบที่ใช้งานใน รพ.สต./ศสม. กพ.-มีค. 3 จัดอบรมการทดสอบด้านชันสูตร และการควบคุมคุณภาพการตรวจ จำนวน 4 tests 14 มีค.56 จ.บึงกาฬ 15 มีค.56 จ.สกลนคร 18 มีค.56จ.อุดรธานี 19 มีค.56 จ.นครพนม 25 มีค.56 จ.หนองบัวลำภู 26 มีค.56 จ.เลย 1 เม.ย. 56 จ.หนองคาย 4 จัดเตรียมและส่งตัวอย่างประเมินคุณ ภาพ (QC sample) 4 Test และจัดทำรายงาน ก.พ.-มี.ค. พค.-มิย.

ตัวอย่างควบคุมคุณภาพ ตัวอย่างควบคุมคุณภาพ 4 รายการ สำหรับประเมินผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุข ด้านโรคเรื้อรัง จำนวน 2 รอบประกอบด้วย - น้ำตาลในเลือด (Glucose) - การตรวจปริมาตรเม็ดเลือดแดงอัดแน่น (Hematocrit) - น้ำตาลกูลโคสและโปรตีนในปัสสาวะ(Sugar/Protein urine) - ตรวจการตั้งครรภ์ (Pregnancy test) ตัวอย่างควบคุมคุณภาพ 1 ชุด ประกอบด้วยตัวอย่าง 6 หลอด - หลอดที่ 1 ,2, 3, 4 ตัวอย่างทดสอบ GlucoseและHematocrit - หลอดที่ 5, 6 ตัวอย่างทดสอบ urine glucose/urine protein และ Pregnancy test

งบประมาณผู้รับผิดชอบ กรอบการดำเนินงาน ปี2556 กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ งบประมาณผู้รับผิดชอบ 5.นิเทศประเมินผล คัดเลือก รพ.สต./ศสม. ดีเด่น ระดับจังหวัด มี.ค.-มิย. สสจ.,รพ เครือข่าย 6.ประชุมผู้เกี่ยวข้องในเครือข่ายเพื่อการประเมินผลการถ่ายทอดองค์ความรู้และการควบคุมคุณภาพ ครั้งที่2 เม.ย.-มิ.ย. สสจ.,รพ, ศวก.ที่8 7.รวบรวมข้อมูลสรุปผลการดำเนินงานด้านห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขของหน่วยบริการปฐมภูมิ กค.-กย ศวก.ที่8 อุดรธานี

ช่องทางการติดต่อสื่อสาร การติดต่อสื่อสาร ทางจดหมายอิเล็คทรอนิคส์ (E-mail) E-mail : jintanaw005@hotmail.com : jintana.w@dmsc.mail.go.th การติดต่อสื่อสารทางโทรศัพท์/โทรสาร หมายเลขโทรศัพท์ : 0 4220 7364-66 ต่อ 108-109 : 0 4220 7369(สายตรง) : 08 8549 0596 , 09 0197 6483 หมายเลขโทรสาร : 0 42207 367,0 4220 7369 รายชื่อผู้ประสานงาน ทนพญ.จินตนา ว่องวิไลรัตน์ นักเทคนิคการแพทย์ชำนาญการพิเศษ โทร 08 6219 2891 นายสุพัฒชัย ปราบศตรู นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ โทร 08 1053 1261 น.ส.วรัญชนก ครุฑราช เจ้าพนักงานธุรการ โทร 08 1799 3675

ช่องทางการติดต่อสื่อสาร เข้าเว็บไซต์ www.google.com พิมพ์คำว่า ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่8อุดรธานี เลือกงานพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการในเครือข่าย EQA-HIV NEONATAL SCREENING โครงการพัฒนาระบบคุณภาพ รพ.สต.

งานพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการในเครือข่าย หัวหน้างาน นักเทคนิคการแพทย์ ระดับชำนาญการพิเศษ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ ลูกจ้างชั่วคราว เจ้าพนักงานธุรการ บุคลากร จำนวน 3 คน

ขอบข่ายการให้บริการ งานพัฒนาศักยภาพ ห้องปฏิบัติการในเครือข่าย -สนับสนุนพัฒนาระบบคุณภาพ ห้องปฏิบัติการ มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์ สากล/WHO - ตรวจสอบประสิทธิภาพ เครื่องมือห้องปฏิบัติการ ประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการ การตรวจเอชไอวี ซีโรโลยี่แห่งชาติ ภาคะวันออก เฉียงเหนือ การพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพการตรวจทางห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขของหน่วยบริการปฐมภูมิ วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน นวัตกรรมการแก้ปัญหาโรคเอ๋อ โรคขาดสารไอโอดีนด้วยห่วงโซ่อาหาร พืชผักและไข่เสริมไอโอดีน

จัดทำโดยทนพญ.จินตนา ว่องวิไลรัตน์ สวัสดี 30มกราคม2555 จัดทำโดยทนพญ.จินตนา ว่องวิไลรัตน์