13/12/2007แผนยุทธศาสตร์ประจำปี 2551 โรงพยาบาลหนองม่วง 2 จำนวนการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่อายุต่ำกว่า 20 ปีเพิ่มขึ้น ปี 2549 มีจำนวน 41 คน ปี 2550 มีจำนวน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

สุดยอดเทคนิค (คำแนะนำ) ของฉัน
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
การให้คำปรึกษาเพื่อนที่มีความเสี่ยงที่จะมีเพศสัมพันธ์
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในทัณฑสถานหญิงจังหวัดเชียงใหม่
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
เด็กท้อง … จัดการ เชิงบวกได้. ข้อเสนอแนะต่อการจัดการ กรณีเด็กท้องให้เรียนต่อ การระดมความเห็นจากวงน้ำชา ๑๓ - ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๑.
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอหนองม่วง จังหวัดลพบุรี
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ส่งเสริมสัญจร.
โครงการสำคัญตามนโยบาย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การนำเสนอผลงานการพัฒนาคุณภาพ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
สาระสำคัญ การป้องกันการตั้งครรภ์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ รวมทั้งโรคเอดส์เป็นความรับผิดชอบของทั้งผู้หญิงและชาย การเรียนรู้เรื่องการป้องกันมีทั้งแง่ดีและแง่ไม่ดี
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
โครงการเยี่ยมบ้านนักศึกษาโรงเรียนแลมป์-เทค จังหวัดลำปาง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
รายงาน เรื่อง ทักษะปฏิเสธทางเพศ โดย เด็กหญิง สมัชญา ใจรักษา เลขที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้วเขต.
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
เก็บตก ประเด็น HOT.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 2 เรื่อง ค่านิยมที่ดีและเหมาะสม ของเพื่อนสนิท.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 1 การวางแผนดูแลสุขภาพของ บุคคลในชุมชนและสังคม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

13/12/2007แผนยุทธศาสตร์ประจำปี 2551 โรงพยาบาลหนองม่วง 2 จำนวนการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่อายุต่ำกว่า 20 ปีเพิ่มขึ้น ปี 2549 มีจำนวน 41 คน ปี 2550 มีจำนวน 57 คน ปี 2551 มีจำนวน 44 คน

13/12/20073 ปัญหาที่ 1 ในกลุ่มเด็กและเยาวชน การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ วัตถุประสงค์ 1. พัฒนาคุณภาพการดำเนินงานโดยศึกษา ข้อมูลเชิงคุณภาพตามสภาพปัญหาจริงมา วางแผนในการดำเนินงาน 2. สร้างการมีส่วนรวมของภาคีสุขภาพ 3.ได้รูปแบบการป้องกันแก้ไขปัญหาในกลุ่มเด็ก และเยาวชนเพื่อป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึง ประสงค์ สถานการณ์ การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์มีจำนวน เพิ่มมากขึ้นซึ่งมีแนวโน้มสถานการณ์ใน กลุ่มเด็กมีมากขึ้นส่งผลต่อด้านสุขภาพ ของมารดาและทารก ปัญหาสุขภาพจิต ของมารดา ปัญหาเรื่องการดูแลเด็ก นำไปสู่ปัญหาคุณภาพอนามัยมารดาและ ทารกได้

13/12/20074 กิจกรรม 1.เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจาก CASEที่อยู่ใน พื้นที่ 2.สรุปวิเคราะห์ข้อมูลมาวางแผนในการจัด กิจกรรม 3.ประชุมครู/ชุมชน/ผู้ปกครอง/ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข/ ชุมชน /ท้องถิ่นชี้แจง ข้อมูลและหามาตรการในการดำเนินงาน แบบบูรณาการจากทุกภาคส่วน 4.จัดกิจกรรมการแก้ไขปัญหาจากสภาพ ปัญหาจริง เช่นกิจกรรมการให้ความรู้ เรื่องเพศศึกษา การให้คำปรึกษา การ ป้องกันพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัย (SAVE SEX) 5.จัดกิจกรรมการรงค์ตามข้อมูลสภาพปัญหา จริง 6.จัดคลินิกการให้คำปรึกษา การป้องกัน พฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัย (SAVE SEX)

การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาการตั้งครรภ์ในเด็กวัยรุ่น จากข้อมูลเด็กวัยรุ่นที่ผ่านการคลอดแล้ว จำนวน 20 ราย ในเขตอำเภอหนองม่วง จังกวัดลพบุรี ( เก็บข้อมูลเดือน ธค 50- มค 51) อายุจำนวน ( ราย ) 14 ปี 3 15 ปี 2 16 ปี 1 17 ปี 6 18 ปี 6 19 ปี 2 รวม 20

การเก็บข้อมูลจากกลุ่มวัยรุ่นที่ได้คลอดแล้วจำนวน 20 รายปัญหา การตั้งครรภ์มีข้อมูลที่น่าสนใจ ในสรุปในประเด็นต่างๆดังนี้ “ไปเที่ยวกับแฟนคิดว่าไม่มีอะไรกันแต่พอพลาดก็เลยท้อง” “ไปเที่ยวกันบ่อยก็มีความสัมพันธ์กันบ่อยครั้งไม่เป็นอะไร คิด ว่าคงไม่ท้อง น่าจะปลอดภัยจึงไม่ได้คุมกำเนิด” “มีอะไรกับแฟนโดยไม่มีการคุมกำเนิดใดๆ” “คิดว่านอนกับแฟนครั้งเดียวคงไม่ท้อง” “ไม่ได้ตั้งใจจะมีอะไรกันไม่ได้เตรียมตัวเพื่อนขอนอนด้วย ครั้ง เดียวก็ท้อง” 1. ความเข้าใจของวัยรุ่น

2.มีเพศสัมพันธ์โดยใช้วิธีการคุมกำเนิดแต่ใช้ไม่ถูกต้อง มีปัญหาในการใช้ จึงเกิดความล้มเหลว “ไม่ได้กินยาคุมใส่แต่ถุงยางอนามัยพอไม่ได้ซื้อไป...ลืมใส่เลยท้อง” “ไม่ค่อยเข้าใจการกินยาคุมกำเนิดไม่รู้ว่ากินอย่างไรตามลูกศรกินไปหลายเม็ด พอหยุดกิน 1 ครั้งท้องได้เลย” “ลืมกินยาคุมทุกวัน แค่ไม่ได้กินวันที่มีอะไรกับแฟนวันเดียว” “กินยาคุมไม่ถูกต้อง กินบ้างหยุดบ้างคิดว่าจะป้องกันการตั้งครรภ์ได้” “กินยาคุมผิดพลาดหยุดไปบ้างไม่ได้กินทุกวัน” “ไม่รู้ว่าจะคุมกำเนิดอย่างไรไม่รู้วิธีคุมกำเนิด” “ใส่ถุงยางไม่ถูกต้องมีหลุด” “แฟนไม่ใส่ถุงยาง ทำให้ท้องเลย”

3.การไม่ได้คุมกำเนิดเลย “ ไม่รู้จะคุมกำเนิดอย่างไร ” “ไม่เข้าใจว่าจะใช้วิธีไหน จะคุมกำเนิดอย่างไร” “เรียนรู้มาบ้างแต่ก็ลืมวิธีการคุมกำเนิดเลยไม่ได้ใช้” “ไม่คิดว่าจะต้องคุมกำเนิด คิดว่าไม่ท้อง” “หลังมีอะไรกันไม่ได้ซื้อยาคุมแบบ 24 ชั่งโมง มากิน ไม่รู้ว่ามียาแบบนี้ด้วย”

4.ปัญหาจากสรีระร่างกายและการเปลี่ยนแปลง” “ปัญหาประจำเดือนมาไม่ตรงกำหนดใช้วิธี ป้องกันกินยาก็เลยพลาด” “ประจำเดือนมาบ่อยคิดว่าคงไม่ได้ท้องแล้ว หยุดกินยาก็เลยท้อง”

5. ความคิด ความเชื่อ ค่านิยมของเด็กวัยรุ่น “มีแฟนรู้จักกันมาหลายวัน อยู่ด้วยกันมีความสุขดีอยากมีลูกเลยไม่คุม” “ไปเที่ยวกับแฟนมีอะไรกันทุกครั้งก็กินยาฉุกเฉินก็ได้ไม่ท้อง ครั้งนี้ไม่ได้กินเลยท้อง” “รู้จักกันกับแฟนพูดเข้าใจถูกคอกันดี เขาบอกว่ารักเราขอนอนด้วยเราก็ให้นอน” “พร้อมใจที่จะมีอะไรกันกับแฟน มั่นใจและไว้ใจกันมากขึ้น”

6.สถานการณ์เหตุการณ์ที่ได้พบกันและนำไปสู่ปัญหา “รู้จักกับแฟนอยู่บ้านใกล้กันเป็นเพื่อนกัน” “นัดพบกันทุกวันหลังเลิกเรียน” “นัดกันไปเที่ยวด้วยกันบ่อยๆ” “ไปอยู่บ้านเดียวกันทุกวัน” “รู้จักกันโดยการไปเที่ยวแล้วเจอกัน นัดพบกันบ่อยได้คุยกันทางโทรศัพท์ เลยนัดกันไปเที่ยว” “บอกกับแม่ว่าไปเรียนแล้วนัดกันไปหาแฟน” “เป็นพี่ชายเพื่อนเจอกัน 5-6ครั้งไปเที่ยวกันตอนหลังเลิกเรียนนั่งรถมอเตอร์ไซด์ ไปกับแฟนทุกวัน”

6.สถานการณ์เหตุการณ์ที่ได้พบกันและนำไปสู่ปัญหา “รู้จักกับแฟนเพราะบ้านอยู่ใกล้กันเป็นเพื่อนบ้านกันมีการนัดพบกันทุกวัน” “โทรศัพท์คุยกันพูดคุยกันสนุกคุยกันแล้วเกิดชอบกันนัดกันไปเที่ยวด้วยกัน” “รู้จักกันเป็นเพื่อนของเพื่อน และก็เข้าใจกันกันพูดคุยกันถูกคอจึงนัดพบกัน ที่โรงเรียนหรือบ้านที่ต่างๆ ไปเที่ยวตามงานต่างๆ ในวันหยุดและหลังเลิกเรียน” “รู้จักกันกับแฟนพูดเข้าใจถูกคอกันดี พอเป็นแฟนกันก็นัดพบเที่ยวกันตามงานต่างๆ หลังเลิกเรียน” “บอกแม่ว่าไปเรียนพิเศษ นั่งรถไปหาแฟนที่กรุงเทพ มีอะไรกันทุกครั้ง”

7.ประสบการณ์ชีวิตของวัยรุ่นเพศหญิง..ที่เชื่อใจ...ไว้ใจ..ขาด ทักษะการปฏิเสธ “ครั้งแรกเขาขอกอดและบอกว่ารักเรา และก็ขอมีอะไรด้วยเรา รักเขาก็เลยยอม” “แฟนบอกว่าขอมีอะไรด้วย.....ก็เลยยอมมีอะไรกัน” “มั่นใจเขา เราพร้อมใจที่จะมีความสัมพันธ์กัน” “แฟนบอกว่าเขารักเรามาก มากอดเรา หอมเรา เราก็ยอม” “เรารักกันมีอะไรกันแล้วจะได้รักกันนานๆ”

1.ไม่ทราบว่าเมื่อมีอะไรกับแฟนแล้ว จะเกิดการตั้งครรภ์ได้ 2.รู้ว่าตัวมีอะไรกันกับแฟนทำให้ เกิดการตั้งครรภ์ได้แต่ไม่ทราบ ว่าป้องกันได้ไม่ว่าจะป้องกัน อย่างไร 3.ทราบว่าตั้งครรภ์ป้องกันได้แต่ไม่ สนใจป้องกัน 4.สนใจที่จะป้องกันการตั้งครรภ์ แต่ ไม่ทราบว่าจะไปรับบริการที่ไหน 5. ทราบว่ามีสถานที่บริการ คุมกำเนิด สามารถไปรับ บริการได้แต่ไม่ยอมไปรับ ไม่สะดวก 6. เกิดขึ้นจากการความ สมัครใจ 7. ขาดทักษะการปฎิเสธเพื่อ ชาย 8. ความคิด ว่าเชื่อในเรื่อง ความรัก สถานการณ์โดยภาพรวม การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

เราจะหาแนวทางในการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ดังกล่าวได้อย่างไร

ย.2 การพัฒนาระบบการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก โครงการ 3. แก้ไขปัญหากลุ่มเด็ก และเยาวชนตั้งครรภ์ไม่พึง ประสงค์ กิจกรรม 1. เสริมทักษะชีวิตและความรู้ ในการป้องกันการ ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ 2. ให้คำปรึกษากลุ่มเสี่ยง 3. พัฒนาจากโครงการสู่งานวิจัย