นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
Advertisements

ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
กลุ่มที่ 3.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ความคาดหวังของเขตสุขภาพต่อการดำเนินงานสุขภาพจิตในพื้นที่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
Pass:
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่มีความสำคัญระดับชาติ (P&P National Priority) นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข (หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านพัฒนางานสาธารณสุข)

ความเป็นมา ปี ๒๕๔๕-๒๕๕๐ สปสช. ได้จัดสรรงบประมาณ ๓ ลักษณะ คือ ๑. PP vertical program ๒. PP facility-based ๓. PP community-based ปี ๒๕๕๑ สธ. และ สปสช. มีนโยบายความร่วมมือในการบริหารงบประมาณส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับบุคคล โดยแบ่งงบ PP ออกเป็น ๔ ลักษณะ คือ ๒. PP area-based ๓. PP expressed demand ๔. PP community

ข้อเสนอแนะจากผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ๑. ให้ลดแผนงานโครงการที่กำหนดโดยหน่วยงานในส่วนกลาง (PP vertical program) ลงให้เหลือเท่าที่จำเป็นเท่านั้น ๒. ให้มีการบูรณาการแผนงาน/โครงการของกรมวิชาการก่อนลงไปในพื้นที่ รวมทั้งตัวชี้วัดและระบบรายงาน ๓. ให้กรมวิชาการทำหน้าที่กำหนดเป้าหมายและมาตรฐานในการปฏิบัติงาน รวมทั้งติดตาม นิเทศ และประเมินผล

การบริหารจัดการ PP National Priority ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ ๑. สธ. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ๔ คณะ เพื่อทำหน้าที่กำหนดเงื่อนไข หลักเกณฑ์ แนวทางการบริหารงบประมาณ และติดตาม ควบคุม กำกับการดำเนินงาน ๒. เปลี่ยน PP vertical program เป็น PP national priority

การบริหารจัดการ PP National Priority ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ วัตถุประสงค์ เพื่อลดปัญหาสุขภาพที่มีความสำคัญระดับชาติ ด้วยแผนงาน/โครงการที่เกิดจากการดำเนินงานร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มีมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ

การบริหารจัดการ PP National Priority ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ หลักเกณฑ์ ๑. ตอบสนองต่อปัญหา ความต้องการบริการสาธารณสุขในภาพรวมระดับประเทศ ๒. ตอบสนองต่อนโยบาย ยุทธศาสตร์ระดับประเทศต่อบริการสาธารณสุขด้านการส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรค ๓. เป็นแผนงาน/โครงการที่มีเป้าหมาย เป็นรูปธรรม มีระยะเวลาสิ้นสุดชัดเจนภายใน ๓-๕ ปี พร้อมทั้งเตรียมการถ่ายโอนเป็นภารกิจปกติระดับพื้นที่ต่อไป

การบริหารจัดการ PP National Priority ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ Area วงเงิน ๑๕๓.๖ ล้านบาท จัดสรรให้ ๑.๑ โครงการสุขภาพดีวิถีไทย: เบาหวานและอ้วนลงพุง ๑.๒ โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว เพื่อพัฒนาคุณภาพแม่และเด็ก ๐-๕ ปี ๑.๓ กลุ่มแผนงานที่จะพัฒนาให้เป็นแผนงานที่มีความ สำคัญ ระดับชาติในปีงบประมาณ ๒๕๕๓

โครงการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย: เบาหวานและอ้วนลงพุง วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้ประชาชนได้ทราบถึงภัยคุกคามสุขภาพจากโรคเบาหวานและภาวะอ้วนลงพุง ๒. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวกับเบาหวานและอ้วนลงพุงต่อภาวะสุขภาพของประชาชน ๓. เพื่อเฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจคัดกรองเบาหวานและอ้วนลงพุงในประชาชนกลุ่มเสี่ยง ๔. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน

โครงการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย: เบาหวานและอ้วนลงพุง มาตรการ ๑. สร้างความตระหนัก ๒. เสริมสร้างสิ่งแวดล้อม ๓. เฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจคัดกรองความเสี่ยง ๒ ระดับ ๓.๑ คัดกรองความเสี่ยงในชุมชน โดย อสม. อปท. ๓.๒ คัดกรองความเสี่ยงระดับสถานบริการ โดยเจาะเลือด วัดความดัน ๔. ให้คำปรึกษาและปรับพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยในสถานบริการ ๕. ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ด้วยการดูแล เฝ้าระวัง และคัดกรอง

โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว เพื่อพัฒนาอนามัยเด็กเล็ก ๐-๕ ปี วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้บริการสุขภาพอนามัยแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ และเด็ก ๐-๕ ปี อย่างครอบคลุมและครบวงจรอย่างมีมาตรฐาน ๒. เพื่อสร้างความมีส่วนร่วมของบุคคลในครอบครัว ชุมชน สังคมในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ และเด็ก ๐-๕ ปี

โครงการอนามัยเด็กเล็ก ๐-๕ ปี มาตรการ ๑. พัฒนาบุคลากร ๒. พัฒนาสถานบริการ ๓. กำหนดมาตรฐานในการให้บริการ

ขอขอบคุณ