การออกรายงานเอกสาร PDF

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Google+ เป็นชุมชนออนไลน์ ที่มีลักษณะเหมือนกับ
Advertisements

การสร้างเว็บด้วยภาษา HTML
คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML>
Microsoft Word
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
เปลี่ยนสี และรูปแบบของตัวหนังสือ และจุดเชื่อมโยง
เรียนรู้และเข้าใจ HTML อย่างง่าย
ปฏิบัติการที่ 4 การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
for Beginning & Publishing
การประยุกต์ Excel ในการทำโครงการและแผนประจำปี วันที่ 6 ก.พ. 2557
ใบส่งพิมพ์โปสเตอร์ขนาดใหญ่
ใบส่งพิมพ์โปสเตอร์ขนาดใหญ่
Lab1 ติดตั้ง Joomla และ Virtuemart
เตรียมเอกสารประกอบการนำเสนอ
PHP LANGUAGE.
ลักษณะพิเศษของ ภายใต้คำสั่ง <BODY>
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
กระบวนการจัดทำคำสั่งฯ และการส่งบันทึกข้อความ ขออนุเคราะห์ออกคำสั่งฯ
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
การตกแต่งเอกสาร การเลือกรูปแบบและขนาดของตัวอักษร
การสร้างตาราง (Table)
แก้ไขปรับปรุง Form.
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างเว็บด้วย HTML HyperText Markup Language
การติดตั้ง AppServ
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
บทที่ 6 โครงสร้างของเว็บ.
การพิมพ์ข้อความ และการสร้างตาราง
การพิมพ์รายงาน / วิทยานิพนธ์
คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNote
การกำหนดค่าเริ่มต้นและ การใช้งาน server ผ่าน Dreamweaver
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
CSS.
PHP.
เครื่องนักศึกษา  c:\appserv\www\ชื่อนักศึกษา\ชื่อไฟล์.php
รายงาน เรื่อง จัดรูปแบบข้อมูล จัดทำโดย ด. ญ. ธิกานดา วัลยาภรณ์ ชั้นม.2/1 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติมองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
การกำหนด ลักษณะอื่นๆ ง การเขียน เว็บไซต์สไตล์ ป. พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
การกำหนดลักษณะตัวอักษร
การสร้างตาราง ง40205 การเขียนเว็บไซต์สไตล์ ป.พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
เรื่อง การจัดแต่งเอกสาร
การแทรกรูปภาพ บนเว็บเพจ.
E-News For Modern Life งานบริการสารนิเทศ ฝ่ายบริการ ทรัพยากรสารนิเทศ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
พิมพ์ Arr แล้วกด Ctrl+Spacebar
การสร้างตาราง,ฟอร์มและการส่งค่า Get and Post คอลโทรลต่าง ๆ
วิธีการสืบค้นข้อมูล ด้วย Search engine และการเขียนบรรณานุกรม
SML Report Designer การออกแบบรายงาน.
บทที่ 3 การกำหนดรูปแบบตัวอักษร
การผลิตเอกสาร Documentation Production
Output of C.
HTML 1. รูปแบบพื้นฐานของ เอชทีเอ็มแอล
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
Low Level GUI อ.วิวัฒน์ ชินนาทศิริกุล.
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
การวิเคราะห์กลั่นกรองหนังสือราชการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เสริมเว็บให้ดูสวย.
HTML (Hyper Text Markup Language) HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษา มาตรฐานสากลที่ใช้นำเสนอข้อมูลแบบ ผสมผสานในการสื่อสารแบบ World-Wide- Web.
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
PHP. P ersonal H ome P age P rofessional H ome P age PHP : H ypertext P reprocessor.
การเขียนหนังสือราชการ
HTML ก็คือภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษา หนึ่งซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อใช้ในการแสดงผล ข้อมูลบนระบบอินเตอร์เน็ท โดยใช้ เครื่องหมาย เป็นตัวกำหนดหลัก โดย ส่วนมากจะใช้คำสั่ง.
Static Website รูปแบบของเว็บไซต์ Dynamic Website.
หลักการออกแบบเว็บไซต์
16. การเขียนรายงานการวิจัย
โดย ส.อ.ประกาศิต วรนุช วิททยาลัยเฉลิมกาณจนา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกรายงานเอกสาร PDF

FPDF คืออะไร FPDF เป็นคลาสที่เขียนขึ้นมาด้วยภาษา PHP สำหรับสร้างไฟล์ PDF แบบ ออนไลน์ ด้วยความง่าย และใช้เวลาในการศึกษาไม่นาน ทำให้คลาสตัวนี้เป็นที่ นิยมอย่างมาก ในแวดวงผู้เขียนเว็บแอพพลิเคชัน ด้วย PHP

การแสดงรายงานบนหน้าเว็บนั้น มีอุปสรรค์หลายอย่าง ไม่สามารถกำหนดขนาดของหน้ากระดาษ ไม่สามารถกำหนดตำแหน่งแสดงผลบนหน้ากระดาษที่แน่นอน ไม่สะดวกในการจัดเก็บรายงาน เพราะต้องปริ้นต์ออกกระดาษ คำตอบคือ FPDF Export ข้อมูลออกเป็นไฟล์ .pdf ปริ้นข้อมูลให้ลงตรงตำแหน่งในกระดาษ ที่มีฟอร์มอยู่แล้ว

คุณสมบัติหลักๆของ FPDF : สามารถกำหนดขนาดกระดาษ กั้นหน้า กั้นหลัง กั้นบน กั้นล่าง สามารถกำหนดหัวและท้ายกระดาษ แบ่งหน้าโดยอัตโนมัติ ขึ้นบรรทัดใหม่และจัดเรียงข้อความอัตโนมัติ สนับสนุนการใช้งานภาพกราฟิก (jpeg,png,gif) สามารถกำหนดสีข้อความ สนับสนุน hyperlink กำหนดฟ้อนต์ และขนาดได้ และที่สำคัญมากๆ สนับสนุน ภาษาไทย

การใช้งานเบื้องต้น Download class FPDF http://www.fpdf.org/ แตกซิปออก ไปไว้ที่ C:\AppServ\www สิ่งที่เราจะต้องใช้คือ ไฟล์ fpdf.php คลาสสำหรับสร้าง PDF โฟลเดอร์ font เราจะเก็บฟ้อนต์ที่ต้องการใช้งานในโฟลเดอร์นี้

การใช้งานเบื้องต้น : เริ่มเขียน code 1. include ไฟล์ fpdf.php เข้ามา require('fpdf.php'); 2. สร้าง instant FPDF $pdf=new FPDF(); 3. เพิ่มหน้ากระดาษ $pdf->AddPage(); 4. เพิ่มฟอนต์ที่ใช้ลงในเอกสาร $pdf -> AddFont('ArialB','B','ArialB.php'); 4. กำหนดฟอนต์ที่จะใช้ ซึ่ง ณ ตอนนี้จะใช้ฟอนต์ Arial $pdf->SetFont('ArialB','B',16); //กำหนดฟอนต์ Arial

การใช้งานเบื้องต้น : เริ่มเขียน code 5. พิมพ์ข้อความลงไปในเอกสาร $pdf->Text( 10 , 10 , 'Hello World!'); //พิมพ์คำว่า Hello World! ลงไปในตำแหน่ง //เยื้องจากขอบกระดาษด้านซ้าย 10 มม. //เยื้องจากขอบกระดาษด้านบน 10 มม. 6. Output $pdf->Output();

FPDF(orientation , unit , format) การกำหนดขนาดกระดาษ FPDF(orientation , unit , format) orientation : กำหนดกระดาษแนวตั้งหรือแนวนอน P – แนวตั้ง (default) L – แนวนอน unit : หน่วยวัด ใช้เป็นหน่วยในการกำหนดพิกัดพิมพ์ข้อความลงบน pdf mm – มิลลิเมตร (default) cm – เซนติเมตร in – นิ้ว format : ขนาดกระดาษ A3, A4 (default), A5, Letter array(width,height) – กำหนดเอง โดยส่งอะเรย์ กว้างxสูง

AddPage(orientation , format) การเพิ่มหน้ากระดาษ AddPage(orientation , format) orientation : กำหนดกระดาษแนวตั้งหรือแนวนอน P – แนวตั้ง (default) L – แนวนอน format : ขนาดกระดาษ A3, A4 (default), A5, Letter array(width,height) – กำหนดเอง โดยส่งอะเรย์ กว้างxสูง

การตั้งค่าหน้ากระดาษ SetMargins(left, top, right) left : (ตัวเลข) กั้นหน้ากระดาษซ้าย top : (ตัวเลข) กั้นหน้ากระดาษด้านบน right : (ตัวเลข) กั้นหน้ากระดาษด้านขวา <?php require('fpdf.php');   $pdf=new FPDF(); $pdf->SetMargins( 50,30,10 ); $pdf->AddPage(); $pdf->SetFont('Arial','B',16); $pdf->Text( 10 , 10 , ‘Hello PDF'); $pdf->Output(); ?>

การเพิ่มฟอนต์ในเอกสาร AddFont(family , style , file) family : กำหนดชื่อ style : ลักษณะของฟอนต์ empty string – ตัวอักษรปกติ B: ตัวหนา I: ตัวเอียง BI หรือ IB: ตัวหนาเอียง file : ไฟล์ฟอนต์

การกำหนดฟอนต์ที่ใช้ในเอกสาร SetFont(family , style , size) family : ชื่อฟอนต์ที่ใช้คำสั่ง AddFont กำหนดไว้ style : ลักษณะของฟอนต์ empty string – ตัวอักษรปกติ B: ตัวหนา I: ตัวเอียง BI หรือ IB: ตัวหนาเอียง size : ขนาดฟอนต์ที่จะพิมพ์ลงในเอกสาร ***คำสั่ง AddFont กับ SetFont นั้นจะใช้งานควบคู่กัน

การกำหนดสีตัวอักษร SetTextColor(R,G,B); R : ค่าของสีแดง 0-255 เช่น ต้องการตัวอักษรสีน้ำเงิน SetTextColor(0,0,255);

การพิมพ์ข้อความ Text(x, y, txt) x : (ตัวเลข) พิกัดในแกน x แนวนอน y : (ตัวเลข) พิกัดในแกน y แนวตั้ง txt : (ตัวหนังสือ) ข้อความที่ต้องการพิมพ์ Write(h, txt , link) h : (ตัวเลข) ความสูงของบรรทัด txt : (ตัวหนังสือ) ข้อความที่ต้องการพิมพ์ link : (ตัวหนังสือ) url ของเว็บไซต์

Image(file, x , y , w , h , type ,link) การแทรกรูปภาพ Image(file, x , y , w , h , type ,link) file : (บังคับ) pathของภาพที่ต้องการใส่เข้าไปในไฟล์ pdf x : (ออปชั่น) ตำแหน่งวางภาพในแกนแนวนอน y : (ออปชั่น) ตำแหน่งวางภาพในแกนแนวตั้ง w : (ออปชั่น) ความกว้างของรูปภาพ h : (ออปชั่น) ความสูงของรูปภาพ type : ชนิดของภาพ JPG, JPEG, PNG link : ป้อน URL ของเว็บไซต์ในกรณีต้องการให้คลิกที่ภาพแล้วเปิดหน้าเว็บ

ตัวอย่างการแทรกรูปภาพ <?php require('fpdf.php'); $pdf=new PDF();   //สร้างหน้าเอกสาร $pdf->AddPage(); $pdf>Image('logo.png',10,12,30,0,'','http://www.select2web.com'); $pdf->Output(); ?>

การสร้างเอกสารเป็นไฟล์ Output(name, dest) name : กำหนดชื่อไฟล์ pdf dest : กำหนดประเภทของเป้าหมาย I: แสดงไฟล์ pdf ในเบราเซอร์ D: แสดงไดอะลอกบ้อกให้ยูสเซอร์เลือกว่าจะเปิดหรือจะบันทึกไฟล์ pdf ลงในเครื่อง F: บันทึกเป็นไฟล์ไว้บนเซิฟเวอร์ S: คืนค่าเป็น String

การออกรายงานภาษาไทย 2. ประกาศที่อยู่ font 1. Download Font http://www.fontthai.com/ แตกไฟล์นำไปไว้ที่ folder font 2. ประกาศที่อยู่ font define('FPDF_FONTPATH','../font/'); 3. เพิ่มฟอนต์ภาษาไทยเข้า โดยใช้คำสั่ง Addfont $pdf->AddFont('angsanaB',‘B','angsab.php'); 4. กำหนดฟอนต์ที่จะใช้ $pdf->SetFont('angsanaB',‘B',32); 5. พิมพ์ข้อความ $pdf->Text( 10 , 10 , ‘รักเมืองไทย’);

ตัวอย่างสร้างเอกสาร PDF <? define('FPDF_FONTPATH','../font/'); require('../fpdf.php'); $pdf = new FPDF(); $pdf -> AddFont('Ansana','B','angsab.php'); $pdf -> SetFont('Ansana','B',32); $pdf -> SetTextColor(0,0,255); $pdf -> Image('pic.jpg', 20 , 100 , 50 , 50 ); $pdf -> AddPage(); $pdf -> Text(100,100,"สวัสดี"); $pdf -> AddPage('L'); $pdf -> Text(100,100,"ลาก่อน"); $pdf -> Output(); ?>