บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
รายประเด็น ปีงบประมาณ 2553
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
กลุ่มที่ 3.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
การพัฒนาเด็กจังหวัดอุดรธานี
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดอุดรธานี
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร บัณฑิต วรรณประพันธ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา

คิดก่อนเขียน วัตถุประสงค์ในการเขียน แสดงความคิดเห็น รายงานสถานการณ์ อธิบาย คิดถึงผู้อ่าน 2

หลักการเขียนที่ดี (5 C) ถูกต้อง (Correct) ชัดเจน (Clear) ยืนยัน (Confirm) สั้น กระชับ (Concise) โน้มน้าว (Convince) 3

เค้าโครง บทกล่าวนำ เนื้อหา บทสรุป 4

บทนำ เหตุการณ์/สถานการณ์สำคัญ วัตถุประสงค์ ข้อมูล สถิติ ข้อเท็จจริง ความเป็นมาของโครงการ 5

บทนำ ตามที (บุคคล/สถานที่ปฏิบัติงาน/ชุมชน) ได้ (กิจกรรม) เกี่ยวกับ(องค์ประกอบของกิจกรรม) ซึ่งมีกิจกรรมหลักในการดำเนินงานประกอบด้วย (วิธีการปฏิบัติงาน)โดยมี (กลุ่มเป้าหมาย) ที่เข้าร่วมโครงการจำนวน…..ได้แก่…..นั้น 6

บทนำ ตามที่กลุ่มโรคติดต่อนำโดยแมลง ได้ประยุกต์กระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์เพื่อการจัดการเครือข่ายโรคไข้เลือดออกใน 4 มุมมองเกี่ยวกับการเรียนรู้และพัฒนา(รากฐาน) การบริหารจัดการ(กระบวนการ) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(ภาคีเครือข่าย)และคุณค่า(ประชาชน) ซึ่งมีกิจกรรมหลักในการดำเนินงานประกอบด้วย การอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับเครือข่ายโรคไข้เลือดออกที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 2 วันและการติดตาม ให้คำแนะนำปรึกษา(Coaching) 3 ครั้ง โดยมีเครือข่ายที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 8 เครือข่ายได้แก่ 1) จังหวัดนครราชสีมา:ตำบลหินโคน ตำบลหนองพลวง ตำบลคลองเมือง ตำบลบ้านเหลื่อม 2) จังหวัดบุรีรัมย์ ตำบลส้มป่อย 3) จังหวัดชัยภูมิ ตำบลหนองฉิม 4) จังหวัดสุรินทร์ ตำบลเมืองแกและตำบลแคนนั้น 7

เนื้อหา สาระสำคัญ ความต่อเนื่อง สัมพันธ์กัน ความสมบูรณ์ 8

เนื้อหา การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการเครือข่ายภาวะ ความดันโลหิตสูงสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่สาธารณสุขเขต 14 ปี 2552 ผลผลิตของกิจกรรม 1.1 กลุ่มเป้าหมายซึ่งประกอบด้วย บุคลากรสาธารณสุขจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลชุมชน สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ศูนย์สุขภาพชุมชน(Primary Care Unit:PCU) บุคลากรจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการฯ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ ร้อยละ 100 1.2 ได้กรอบแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (Strategic Linkage Model: SLM) ภาวะความดันโลหิตสูง ของเขตพื้นที่สาธารณสุขที่ 14 (รายละเอียดแนบท้ายเอกสารหมายเลข 1) เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในบริบทของแต่ละพื้นที่ และใช้เป็นกรอบในการติดตามให้คำแนะนำปรึกษา สำหรับ…… 9

บทสรุป มีอะไรใหม่บ้าง? มีแนวปฏิบัติอย่างไร? จะมีนโยบาย/มาตรการอย่างไร? 10

บทสรุป ควรส่งเสริมกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ ของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมาและเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคส่วนต่างๆนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรวมทั้งภาคเอกชน ให้มีการประสานงาน ความร่วมมือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การเผยแพร่ความรู้ การดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคเบาหวานในลักษณะเครือข่าย ตลอดจนการเรียนรู้ที่จะปฏิบัติงานร่วมกันให้ประสบความสำเร็จตามเป้าประสงค์และกลยุทธ์ขององค์กร 11

สรุปบทเรียน กำหนดวัตถุประสงค์ในการเขียนให้ชัดเจน กลุ่มเป้าหมายที่อ่านเป็นใคร ประโยชน์จากการเขียนคืออะไร ความครบถ้วนของ คน สถานที่ เวลา ความครอบคลุมของบทนำ เนื้อหา บทสรุป ความทันเวลา

ขอบคุณครับ