การส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพ ห่วงโซ่อุปทานในอุตสาหกรรม ( Supply Chain Management)
การเพิ่มประสิทธิภาพห่วงโซ่อุปทานในอุตสาหกรรม แนวคิด Supply Chain Management การให้ความช่วยเหลือสถานประกอบการ Supply Chain Management
แนวคิด Supply Chain Management คือประมวลการวางแผนและการจัดการกิจกรรมทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับการเสาะหาและจัดหาการแปลงสภาพสินค้า และกิจกรรมการจัดการโลจิสติกส์ทั้งหมดรวมถึงการประสานงานและความร่วมมือกับช่องทางคู่ค้าตั้งแต่ผู้ค้า ตัวกลาง ผู้ให้บริการบุคคลที่สามจนถึงลูกค้า ที่มา : The Council of Supply Chain Management Professional (CSCMP)
C S U U S P T O L I M E E R R Supply Chain Model Value Chain Supply Chain Model Manufacturers, Distributors, Retailers C U S T O M E R Information Flow S U P L I E R Collaborative Planning Flow Material, Product, and Service Flow Fund Flow
Logistics and Supply Chain การบริการลูกค้า การพยากรณ์ความต้องการ การสื่อสารการกระจายสินค้า การควบคุมสินค้าคงคลัง การยกขนวัสดุ กระบวนการสั่งซื้อ การสนับสนุนอะไหล่และบริการ การเลือกที่ตั้งโรงงาน/คลังสินค้า การจัดซื้อจัดหา การบรรจุหีบห่อ การจัดการสินค้าส่งคืน การนำกลับมาใช้ใหม่ การขนส่ง คลังสินค้า Logistics ผู้จัดส่งวัตถุดิบ ผู้กระ จาย สินค้า ค้าปลีก/ส่ง ผู้ บริโภค ผู้ผลิต จัดส่ง ผลิต จัดซื้อ
องค์ประกอบของกระบวนการในโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน โซ่อุปทานภายในองค์กร โซ่อุปทานภายนอกองค์กร โซ่อุปทานภายนอกองค์กร Plan Source Make Deliver Source Deliver Deliver Make Source Make Deliver Source Suppliers’ Supplier Supplier Customer Customer’s Customer Your Company (internal or external) (internal or external) การวางแผน (Plan) การจัดซื้อ จัดหา (Source) การผลิต (Make) การจัดส่ง (Deliver) 7 4 7
SUPPLY CHAIN MANAGEMENT Integrating and Managing Processes Across the Supply Chain Information Flow Manufacturer Tier 2 Supplier Tier 1 Supplier Logistics Consumer/End-user Customer Purchasing Marketing & Sales PRODUCT FLOW Production Finance R&D การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า(CUSTOMER RELATIONSHIP MANAGEMENT) การจัดการการให้บริการแก่ลูกค้า(CUSTOMER SERVICE MANAGEMENT) การจัดการความต้องการของลูกค้า(DEMAND MANAGEMENT) การจัดการคำสั่งซื้อของลูกค้า(CUSTOMER ORDER FULFILLMENT) การจัดการการผลิตMANUFACTURING FLOW MANAGEMENT การบริหารความสัมพันธ์กับผู้ส่งมอบ(SUPPLIER RELATIONSHIP MANAGEMENT) การพัฒนาผลิตภัณฑ์(PRODUCT DEVELOPMENT AND COMMERCIALIZATION) การส่งคืนสินค้า(RETURNS) Supply Chain Business Processes Source: Douglas M. Lambert, Martha C. Cooper, Janus D. Pagh, “Supply Chain Management: Implementation Issues and Research Opportunities”, The International Journal of Logistics Management, Vol. 9, No. 2, 1998, p. 2. 8
หน้าที่หลักของโซ่อุปทานในองค์กร การบริหารวัสดุ (Material Management) การบริหารการผลิต (Manufacturing Management) การบริหารการผลิต (Manufacturing Management) การบริหารกระจายสินค้า (Distribution Management) การบริหารกระจายสินค้า (Distribution Management) โซ่อุปทานในแผนก กล่าวคือในแผนกเดียวกันในองค์กรนั้นมีการเชื่อมโยงหรือแบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกันหรือไม่ โซ่อุปทานระหว่างแผนก กล่าวคือ ระหว่างฝ่ายนั้นมีการแบ่งปันข้อมูลที่ควรทราบถึงกันหรือไม่ โซ่อุปทานระหว่างองค์กร เป็นโซ่อุปทานที่มีการจับมือกันอย่างยั่งยืนระหว่างซัพพลายเออร์ ผู้ผลิต ผู้กระจายสินค้าและลูกค้าเป็นความเชื่อมต่อแบบเนื้อเดียวของกิจกรรมโลจิสติกส์ทั้งภายในและระหว่างองค์กร
Supply Chain Problems and Solutions ความไม่แน่นอนต่างๆ (Uncertainties) ความจำเป็นต้องประสานงานกับการดำเนินงานหลายๆแบบ ทั้งภายในด้วยกันเอง (ข้ามแผนก) และ พันธมิตรธุรกิจทั้งหลาย ความไม่แน่นอนของ supply chain ก็คือ การพยากรณ์ความต้องการ (demand forecast) ความต้องการจริงอาจเปลี่ยนแปลงออกไปจากที่ประมาณการเอาไว้โดยผลของการดำเนินการต่างๆ เช่น สภาพการแข่งขัน ราคา สภาพภูมิอากาศ การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี ความเชื่อมั่น ของลูกค้า ระยะเวลาในการจัดส่ง และอื่นๆ
Supply Chain Improvement Methodologies There is no shortage of tools and methodologies from which to choose that deliver supply chain improvement. Business Process Mapping Kaizen – Continuous Improvement Six Sigma Kanban – Pull Systems Enterprise Resource Planning Visual Management Total Quality Mgt Lean Toyota Production System (TPS) Quality Function Deployment Value Add Analysis Service Value Analysis Affinity Diagram Problem Solving Just-in-Time Reverse Logistics Mgt Value Stream Mapping Distribution Resource Planning Manufacturing Process Mgt 5S – Workplace Organization Supply Chain Operations Reference (SCOR) Production Leveling Voice of Customer (VOC) Benchmarking Process Capability Assessment Cause and Effect Analysis Fault Tree Analysis
การให้ความช่วยเหลือสถานประกอบการ Supply Chain Management
การวินิจฉัยในสถานประกอบการเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและ ห่วงโซ่อุปทานขององค์กร กล่าวเปิดและอธิบายการเข้าโรงงาน สรุปวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย กล่าวเปิดและอธิบายการเข้าโรงงาน สรุปวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย Walk through ในโรงงาน Walk through ในโรงงาน
กำหนดวัตถุประสงค์การทำงาน เพื่อขจัดปัญหาที่เกิดขึ้นภายในองค์กร อย่างยั่งยืน เป็นกิจกรรมหนึ่งที่สามารถจะช่วยแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในหน้างานได้ วิเคราะห์หาสาเหตุรวมถึงการวางแผนในการปรับปรุงแก้ไข จะทำให้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นลดลงได้ ทำให้ลดต้นทุนในการผลิตลง ทำให้งานบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อสร้างคุณภาพและมาตรฐานการทำงานให้ดีขึ้น
วิเคราะห์กระบวนการผลิตของสถานประกอบการ Product
รูปเครื่องจักรของกระบวนการนั้นๆ คำอธิบายของแต่ละกระบวนการนั้นๆ
การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานของโรงงาน
ห่วงโซ่คุณค่าของโรงงาน การดำเนินงานที่ดีและมีกำไรเพิ่ม
กลั่นกรองปัญหา เพื่อจัดทำโครงการ “เพิ่มประสิทธิภาพห่วงโซ่ในโรงงาน” รวมทีมจาก 5 แผนกเพื่อการจัดการ Supply Chain ขององค์กร จัดซื้อ ลูกค้าสัมพันธ์ สินค้า คงคลัง ผลิต วางแผน กลั่นกรองปัญหา เพื่อจัดทำโครงการ “เพิ่มประสิทธิภาพห่วงโซ่ในโรงงาน”
ระดมสมองวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา โดยใช้แผนภูมิก้างปลา
เป้าหมาย (Target) มีของเสีย จากการผลิตมาก Cost ใช้เวลาในการซ่อม ปัญหาที่ต้องการปรับปรุงตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ ( 5 m/d ) เป้าหมาย (Target) มีของเสีย จากการผลิตมาก Cost ใช้เวลาในการซ่อม เครื่องจักรนาน Speed มีสินค้าคงคลังสูง Inventory ของเสียรวมจากการผลิตจาก 15% เป็น <5% ในปี 2556 ผลลัพท์มากขึ้นโดยใช้เวลาเท่าเดิม ลดเวลาการซ่อมเกิน 30 นาที :เครื่อง:เดือน จาก 15% เหลือ 7% อัตราการซ่อมซ้ำเป็น 0% ระบบ AM และ PM ตามแผน 100% Dead/Slow มูลค่า 14 ล้าน ลดเหลือ 9.5ล้าน Turn วัตถุดิบ เฉลี่ย 6.8 รอบ เพิ่มเป็น 8 รอบ Turn บรรจุภัณฑ์ เฉลี่ย 2.9 รอบ เพิ่มเป็น 3.5 รอบ (ภายในปี 2556)
Q & A Thank you