(District Health System)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
Advertisements

(District Health System)
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Research Mapping.
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สวัสดีครับ.
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การสร้างแผนงาน/โครงการ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การปฏิรูปโครงการสุขภาพ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
นวัตกรรมสังคม ใน การจัดการระบบสุขภาพ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
การจัดการค่า กลาง. ค่ากลางคือ อะไร ? %100% 65 การยกระดับคุณภาพของแผนงาน / โครงการ * โดยใช้ค่ากลาง ความถี่ สูงสุด % งา น บริเวณค่า.
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(District Health System) การปฏิรูประบบสุขภาพ ระดับอำเภอ (District Health System)

วิวัฒนาการของการจัดการสุขภาพชุมชนในประเทศไทย

เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) ภาคีต่างๆในเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รพ.ชุมชน - สสอ.-รพ.สต.-อปท.- ชุมชน ต้องมี เอกภาพ ร่วมคิด/ร่วมทำ/ร่วมเรียนรู้/ร่วมสร้างนวัตกรรม รัฐดูแลสุขภาพ ตามความจำเป็น (Essential Care) ชุมชนบริหารจัดการสุขภาพด้วยตนเอง (Self-admin)

องค์ประกอบพื้นฐานและการพัฒนาที่ต้องบูรณาการ

การบูรณาการ เป็น นวัตกรรมรูปแบบการจัดการสาธารณสุข ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดหลังจาก การสร้าง อสม.

เงื่อนไข การบูรณาการสามารถทำได้โดยผู้ปฏิบัติ ในระดับพื้นที่ผู้ผ่านการอบรมหรือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เทคนิค จังหวัดต้องมีค่ากลางที่คาดหวังให้พื้นที่ ใช้เป็นปัจจัยนำเข้า ต้องปรับระบบสนับสนุนให้สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในพื้นที่

บทบาทที่ต้องพัฒนาใหม่ การพัฒนาสุขภาพต้องอาศัยการพัฒนาหลายด้านพร้อมกัน บทบาทที่ต้องพัฒนาใหม่

กระบวนการสร้างโครงการแบบบูรณาการ กำหนดงานกลาง ตามบริบทของจังหวัด กำหนดงานกลาง ตามบริบทของจังหวัด

บูรณาการการจัดการสภาวะแวดล้อมทุกโครงการและเปิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โครงการกลุ่มวัยต่างๆ สนับสนุนโครงการ ประเมินผล และป้อนกลับ สนับสนุนวิชาการ ระบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

พื้นที่ใช้เงินที่ประหยัดได้เปิดโครงการที่ 3 “โครงการส่งเสริมนวัตกรรมสังคม” เพื่อพัฒนาสมรรถนะเชิงการบริหาร จัดการตนเองของประชาชน และ สร้างความเชื่อมโยงกับระบบ การพัฒนาเศรษฐกิจของตำบล

การเปลี่ยนผ่านระบบจัดการสุขภาพ จากภาครัฐสู่ภาคประชาชน ภาครัฐ Innovate & Create ภาคประชาชน Command & Control

การบูรณาการทำให้เหลือโครงการ ในระดับพื้นที่เพียง 3 โครงการ คือ โครงการจัดการสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย โครงการจัดการสภาวะแวดล้อมของกลุ่มเป้าหมาย โครงการส่งเสริมนวัตกรรม

ผลการบูรณาการ จะประหยัดได้ทั้ง กำลังคน เวลา และงบประมาณ จึงเหมาะสำหรับ การบริหารจัดการสุขภาพโดยภาคประชาชน

สรุป การเปลี่ยนผ่านการจัดการสุขภาพสู่ภาคประชาชน ประกาศค่ากลาง บูรณาการงาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผล สร้างโครงการ เปิดงาน เพิ่มทักษะการบริหารจัดการแบบบูรณาการ ท้องถิ่น ผู้นำชุมชน รพสต อสม กองทุนฯ เพิ่มทักษะการบริหารจัดการแบบบูรณาการ โ ค ร ง ก า ร

คำแนะนำ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรรับผิดชอบโครงการจัดการสภาวะแวดล้อม โดยใช้ค่ากลางชุดเดียวกับโครงการจัดการสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย จะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของทั้งสองโครงการได้มาก (Synergistic Effect) ในการบูรณาการระหว่างองค์กรต่างสังกัดดังกล่าว ควรปรับระบบสาระสนเทศของทั้งสองฝ่ายให้สอดรับและใช้ประโยชน์ร่วมกันได้ และควรมีการประชุมวางแผนการบูรณาการร่วมกัน ควรมีการเพิ่มทักษะในการบริหารจัดการโครงการแบบบูรณาการให้กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เมื่อจัดการบูรณาการแล้ว ควรก้าวสู่การสร้างและจัดการนวัตกรรมสังคมโดยเร็ว

www.amornsrm.net ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ขอขอบคุณ