สื่อความรู้เบื้องต้นทาง บรรณารักษศาสตร์ ( 4 )
การดำเนินงานภายใน ห้องสมุด ห้องส มุด จะให้บริการได้ดีสมบูรณ์ ต้อง ประกอบด้วย องค์ประกอบต่อไปนี้ วัสดุห้องสมุด 3 ประเภทใหญ่ๆ ผู้ใช้ บรรณารักษ์ / เจ้าหน้าที่ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ / นักวิชาการสารสนเทศ นักวิชาการโสตทัศนวัสดุ / ช่าง ( ใช้ทฤษฎีและปฎิบัติ ) อาคารสถานที่ บรรยากาศ โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ และ website เทคโนโลยีสารสนเทศ และโสตทัศนวัสดุ ครุภัณฑ์ Back office / front office งบประมาณ สำนักวิทยบริการ Library
ห้องสมุด ปัจจุบัน ต้องเป็น ห้องสมุดมีชีวิต Living library จากการศึกษา พบว่า 1. ต้องการมีเทคโนโลยีสารสนเทศ ต้องการมีโสตทัศนวัสดุ ต้องการมีบริการที่รวดเร็ว - เอื้ออาทร ต้องการสถานที่ทันสมัย - ครุภัณฑ์เหมาะสม ต้องการวัสดุหลากหลาย มีการส่งเสริมการอ่านและการค้นคว้า มีการสนับสนุนจากผู้บริหาร
วัสดุห้องสมุด คือ วัสดุที่จัดหามาเพื่อศึกษาค้นคว้า แบ่งได้ 3 รูปแบบ 1. วัสดุตีพิมพ์ (printed material) วัสดุไม่ตีพิมพ์ (non - print material) วัสดุอิเล็คทรอนิกส์ (electronic material) 2. 3.
วัสดุตีพิมพ์ ประกอบด้วย หนังสือพิมพ์วารสาร / นิตยสาร หนังสือพิมพ์ จุลสารกฤตภาค สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง
วัสดุไม่ตีพิมพ์ ประกอบด้ว ย แถบบันทึกเสียง วิดีทัศน์ CD – A MP3 VCD DVD MAP Picture Poster Models
วัสดุอิเล็คทรอนิกส์ รายการสดจากโทรทัศน์ Internet CD - ROM website
กิจกรรม 1. นักศึกษากลุ่ม / สำรวจ จากหอสมุด ว่าประกอบด้วย กี่ชั้น แต่ละชั้นบริการอะไร หรือเป็นส่วนทำงานอะไรของเจ้าหน้าที่ รวมทั้งบริการอะไรบ้างในแต่ละชั้น 2. เขียนเป็นผัง หรือระบุว่าให้บริการอะไร Oral report 3.