งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทรัพยากรสารสนเทศ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทรัพยากรสารสนเทศ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทรัพยากรสารสนเทศ

2 ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด
              ความหมายของทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด              ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง แหล่งสารสนเทศทุกรูปแบบที่ห้องสมุดได้คัดเลือก จัดหา วิเคราะห์ และจัดรวบรวม อย่าง เป็นระเบียบไว้ให้ผู้ใช้ค้นคว้าหาสารสนเทศที่ต้องการ และจัดบุคคลากรบริการสารสนเทศ เพื่อคอยอำนวย ความสะดวก แก่ผู้ใช้

3 ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด
                    ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดมีหลายรูปแบบ แบ่งออกได้เป็น  5 ประเภท คือ               1. สิ่งตีพิมพ์บนแผ่นกระดาษ เช่น หนังสือ วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร กฤตภาค               2. สิ่งบันทึกลายลักษณ์อักษรด้วยมือ เช่น จอหมายตอบโต้ ต้นฉบับลายมือด้วยตัวเขียน หรือพิมพ์               3. สื่อโสตทัศน์ เช่น รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ ภาพเคลื่อนไหว ภาพยนตร์ แถบวิดีทัศน์               4. วัสดุย่อส่วน เช่น ไมโครฟิล์ม ไมโครฟิช ไมโครคาร์ด               5. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น แผ่นจานแม่เหล็ก แถบแม่เหล็ก จานเสียง ซีดีรอม

4 หนังสือ                    หนังสือเป็นสิ่งพิมพ์ที่เกิดจากความรู้ ความคิดสติปัญญา และประสบการณ์ของมนุษย์จัดทำเป็นรูปเล่มหนังสือ แบ่งตามลักษณะเนื้อหาได้ 5 ประการ คือ               1. หนังสือสารคดี (Non fiction)               2. หนังสือบันเทิงคดี (fiction)               3. ตำรา (textbook)               4.  หนังสืออ้างอิง (Reference book)               5. สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government publication)            

5 ส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ โดยทั่วไปอาจแบ่งเป็น 4 ส่วน 1
  ส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ โดยทั่วไปอาจแบ่งเป็น 4 ส่วน               1. ส่วนปก (Binding)                                      ใบหุ้มปกหนังสือ (book jacket)                      ปกหนังสือ (cover)                    ใบรองปก (fly leaf)    ส่วนเริ่มต้น  (Preliminary)                                           หน้าชื่อเรื่อง (half title page)                                         หน้าปกใน  (Title page)                                         หน้าลิขสิทธิ์  (Copy right page)                                         หน้าคำอุทิศ  (Dedication page)                                         หน้าคำนิยม  (Foreword)                                                                    

6 3. ส่วนเนื้อหา (Text or body of the book) 4
  3. ส่วนเนื้อหา  (Text or body of the book)     4. ส่วนท้ายหรือส่วนเสริมเนื้อหา  (auxiliary  pages)                                           เชิงอรรถ  (footnotes)                                           อภิธานศัพท์  (glossary)                                           ภาคผนวก  (appendix)                                           บรรณานุกรม  (bibliography)                                           ดรรชนี  (index)  

7 วารสารและหนังสือพิมพ์ (Periodical)
                     เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกเป็นตอนๆ  ต่อเนื่องกัน มีกำหนดระยะเวลาที่ออกแน่นอนสม่ำเสมอและติดต่อกันไปตามลำดับ เช่น รายวัน  รายสัปดาห์ รายปักษ์ รายเดือน และรายสามเดือนวารสารและหนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องที่เสนอ เนื้อหาสาระในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะมีการจัดทำวารสารหลายลักษณะซึ่งแต่ละลักษณะมีชื่อเรียกดังนี้  

8 นิตยสาร (Magazine)  เป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้ความบันเทิงและความรู้ทั่วไปไม่เน้นหนักทางวิชาการ               วารสารทางวิชาการ (Journal ) เป็นสิ่งพิมพ์ที่จัดพิมพ์โดยสมาคมทางวิชาการ สถาบันหรือหน่วยงานวิชาการ สาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง ขอบเขตของเนื้อเรื่องประกอบด้วยบทความ รายงาน และข่าวความเคลื่อนไหวทางวิชาการ   วารสารวิเคราะห์และวิจารณ์ข่าว (review  journal) เป็นสิ่งพิมพ์ที่เสนอข่าวในรูปของการวิเคราะห์ วิจารณ์ ข่าวที่นำมาเสนอส่วนใหญ่ ได้แก่ข่าวเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม

9 จุลสาร และ กฤตภาค                      จุลสาร(pamphlets)  เป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้สารสนเทศเรื่องใดเรื่องหนึ่งส่วนมากเป็นสารสนเทศ ที่ทันสมัยอยู่ในความสนใจของบุคคลทั่วไป                  กฤตภาค(clipping) เป็นบทความเหตุการณ์สำคัญเรื่องราวต่างๆ  รูปภาพรูปบุคคลที่มีชื่อเสียงแผนที่หรือสารสนเทศอื่นๆ

10 สื่อโสตทัศน์                  สื่อโสตทัศน์  (audio-visual  materials) โสตทัศนวัสดุ หรือวัสดุไม่ตีพิมพ์ (nonbook  materials หรือ  (nonprint  materials)   วัสดุย่อส่วน                 วัสดุย่อส่วน(micrographic หรือ microforms) หมายถึง วัสดุที่บันทึกสารสนเทศจากสิ่งพิมพ์ที่เป็น หนังสือวารสาร หนังสือพิมพ์ วิทยานิพนธ์ จดหมายโต้ตอบ หนังสือ หายาก ต้นฉบับ โดยการถ่ายในลักษณะย่อส่วนลงบน แผ่นฟิล์มขนาดเล็กเพื่อประหยัด เนื้อที่ในการเก็บ และป้องกัน การฉีกขาด ทำลายแบ่งได้  2  ประเภทคือฟิล์มโปร่งแสง และ บัตรทึบแสง                


ดาวน์โหลด ppt ทรัพยากรสารสนเทศ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google