สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (3)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ICT & LEARN.
Advertisements

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
รุ่งเรือง สิทธิจันทร์ ประธานคณะทำงานฯ
การบัญชีสำหรับกิจการ
การนำเสนอบทความ เรื่อง การจัดการคุณภาพอากาศภายในอาคาร
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
PowerPoint Template
กิจการนิสิต (Student Affairs)
ของวิชา การรู้สารสนเทศInformation Literacy
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
การดำเนินงานด้านการบริการ
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
CMS กับการบริหารจัดการเว็บไซต์ห้องสมุด นำเสนอในการสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 2 “ห้องสมุดกับสังคมแห่งการเรียนรู้” ณ สุรสัมมนาคาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
Live and Learn Library Tour เรียนรู้สู่การปฏิบัติจริง
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
SET CORNER : 5th Oct SET CORNER : 5th Oct 2005.
การทำกิจกรรม หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย จะกำหนดกิจกรรม
สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ภาคีห้องสมุด สถาบัน อุดมศึกษาไทย. ความเป็นมา คณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการจัดการประชุม ความร่วมมือระหว่างห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ครั้งที่ 22 ในภาพมีความร่วมมือ.
วิชาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
วิเคราะห์และสร้างสรรค์สารสนเทศ (Information Analysis and Creativity)
Best Practice ความร่วมมือระหว่างห้องสมุดคณะทำงานฝ่ายบริการสารนิเทศ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ปี 2551.
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
WEB OPAC.
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด : ความเป็นไปได้ในการจัดการ สารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
สื่อการสอน : การทำรายการ 2 (6) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : การทำ รายการ 2 (4) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
สื่อการสอน : การทำ รายการ 2 (1) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (1)
สื่อการสอน : เว็บไซต์สำนักวิทย บริการ สถาบันราชภัฏ อุตรดิตถ์ รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ ศาสตร์ ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ.
สื่อการสอน : การทำ รายการ 2 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : การทำรายการ 2 (3) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
งานเพื่อเสริมศักยภาพทาง วิชาการของ นักศึกษาวิชาเอก บรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ สำหรับวิชา : ความรู้เบื้องต้นทาง บรรณารักษศาสตร์ รองศาสตราจารย์ปัญญา.
สื่อความรู้เบื้องต้นทาง บรรณารักษศาสตร์ ( 4 ). การดำเนินงานภายใน ห้องสมุด ห้องส มุด จะให้บริการได้ดีสมบูรณ์ ต้อง ประกอบด้วย องค์ประกอบต่อไปนี้ วัสดุห้องสมุด.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
แผนพัฒนางาน ฝ่ายประชาสัมพันธ์ เพื่อสนับสนุนงานวิชาการในการรองรับ AEC
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ทำแบบทดสอบและหาที่เรียนในต่างประเทศ
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
ระบบสารสนเทศ เพื่อการสื่อสาร
น. ส. วรัญตี การะเกตุ ED1S B ระบบสารสนเทศสำนัก หอสมุดกลาง ให้บริการต่างๆ อาทิ เช่น - บริการยืม – คืนหนังสือ Online - การสืบค้นหนังสือ.
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
รูปแบบการบริการสารสนเทศ
การจัดทำเว็บไซต์ เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา เขตภาคกลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ ไทย วันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ 2554 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา
ระบบสารสนเทศเพื่อการ จัดการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
ศิลปะการทำงาน ให้ได้ผล คนพอใจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (3) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน panya@mail.riu.ac.th

โครงสร้างการบริหารงานสำนักวิทยบริการ อธิการบดี หรือ รองอธิการบดีที่มอบหมาย ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ คณะกรรมการประจำ สำนักวิทยบริการ รองผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ

ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรสารนิเทศ ฝ่ายเลขานุการ ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรสารนิเทศ ฝ่ายบริการสารนิเทศ ฝ่ายสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง ฝ่ายบริการสารนิเทศพิเศษ ฝ่ายวิทยพัฒนา ฝ่ายเทคโนโลยีสารนิเทศ ฝ่ายบริการสื่อโสตทัศนวัสดุ

การปรับปรุงห้องสมุดไปสู่ความเป็นเลิศ อาศัย บุคคลที่ปฏิบัติงานในห้องสมุด มีฐานะเป็นผู้ให้บริการ งานบริการจึงเป็นหัวใจของห้องสมุด เป็นเสน่ห์ที่ให้ผู้ใช้บริการประทับใจ พึงพอใจ

ลักษณะของผู้ให้บริการที่พึงประสงค์ บริการด้วยความยิ้มแย้ม แจ่มใส และความเข้าใจ (Smiling & Empathy) บริการสนองตอบด้วยความรวดเร็ว (Early response) บริการพร้อม ๆ กันไปกับการให้เกียรติ (Respecful) บริการด้วยความเต็มใจ (Voluntariness manner)

บริการเพื่อสร้างภาพลักษณ์ของตนเองและหน่วยงาน (Image enhancing) บริการด้วยมายาทที่ดี (Courtesy) บริการด้วยความกระตือรือร้อน (Enthusiasm)

คุณสมบัติของผู้ให้บริการที่ดี เป็นผู้ที่มีความไวต่อความต้องการของผู้รับบริการ (Sensitive to customer’s needs) เป็นผู้ที่มีความกระตือรือร้อน (Enthusiasm) เป็นผู้ที่น่าเชื่อถือได้ (Reliability)

เป็นผู้ที่มีความกระฉับกระเฉง (Vigorous) เป็นผู้ให้ข่าวสารข้อมูล (Information) เป็นผู้มีความห่วงใยอาทรผู้อื่น (Concerned) เป็นผู้ที่มีความเข้าใจผู้อื่น (Empathy) เป็นผู้ที่มีความยิ้มแย้มแจ่มใน (Smiles)

กิจกรรมที่ 1 : ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มออกเป็น 6 กลุ่ม แต่ละกลุ่มให้ศึกษา ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มออกเป็น 6 กลุ่ม แต่ละกลุ่มให้ศึกษา - Flow chart ระบบงานที่มอบหมายใน http://library.riu.ac.th

- กิจกรรมในแต่ละแผนกงาน - กิจกรรมในแต่ละแผนกงาน - งานโสตทัศนวัสดุ / เครือข่าย / บริการ - งานเทคโนโลยีสารสนเทศ / เครือข่าย - งานบริการยืม - คืน - การจัดชั้น - งานเทคนิค / ฐานข้อมูลของวัสดุห้องสมุด - งานพัฒนาทรัพยากร และการสร้างซ่อมบำรุง - งานวารสารหนังสือพิมพ์ / บริการ

กิจกรรมที่ 2 : ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มออกเป็น 6 กลุ่ม แต่ละกลุ่มให้ศึกษา ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มออกเป็น 6 กลุ่ม แต่ละกลุ่มให้ศึกษา - http://library.riu.ac.th โดยละเอียด นอกจากรายละเอียดที่ได้จาก Website ดังกล่าวแล้ว ให้ตอบปัญหาดังนี้ - ประโยชน์ในทางวิชาการในแต่ละหัวข้อที่ได้จาก Website ดังกล่าว

กิจกรรมที่ 3 : ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มออกเป็น 6 กลุ่ม ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มออกเป็น 6 กลุ่ม แต่ละกลุ่มให้ศึกษา Website ดังนี้ - สำนักวิทยบริการสถาบันราชภัฏ (5 แห่ง) - มหาวิทยาลัยในไทย (5 แห่ง) - มหาวิทยาลัยในอังกฤษ (5 แห่ง)

ประเด็นที่ให้ศึกษา - มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา (5 แห่ง) - มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา (5 แห่ง) - หอสมุดแห่งชาติ (5 แห่ง ได้แก่ อินเดีย - อังกฤษ - สหรัฐอเมริกา - ออสเตรเลีย และแคนาดา) ประเด็นที่ให้ศึกษา - มีกิจกรรมอะไรบ้าง - มี link ไปที่ใดบ้าง - มีระบบงานอะไรบ้าง

กิจกรรมที่ 4 : ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มออกเป็น 6 กลุ่ม ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มออกเป็น 6 กลุ่ม แต่ละกลุ่มให้ศึกษาฐานข้อมูลที่มีใน เว็บไซต์ของสำนักวิทยบริการ - สำนักวิทยบริการ / หอสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ (5 แห่ง) - สำนักวิทยบริการสถาบันราชภัฏ (10 แห่ง)

- หอสมุดมหาวิทยาลัยในอังกฤษ (5 แห่ง) - หอสมุดมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา (5 แห่ง) - หอสมุดมหาวิทยาลัยในออสเตรเลีย (5 แห่ง) - หอสมุดมหาวิทยาลัยในแคนาดา (5 แห่ง)

สิ่งที่ต้องนำเสนอ : ชื่อฐานข้อมูล (Database) ประโยชน์ที่ได้รับจากฐานข้อมูล