คะแนนมาตรฐาน Z ( Z Score) คะแนนมาตรฐาน T (T Score) เปอร์เซ็นต์ไทล์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
การบวก จำนวนเต็มบวก กับ จำนวนเต็มบวก
5.2 การวัดตำแหน่งของข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
วิชาเศรษฐศาสตร์ รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง.
สมาชิก น.ส. วนิดา ประจง เลขที่ 7 น.ส. ญาดา กาญจนา เลขที่ 11
ผู้จัดทำ 1.นายกิตติพงศ์ ทีภูเวียง เลขที่ 1
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
LAB # 3 Computer Programming 1
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
สำนักวิชาการและแผนงาน
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การแจกแจงปกติ.
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
คะแนนและความหมายของคะแนน
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้จัดทำ นางสาวภัทศิรา ภูมิเมือง เลขที่ 16 นางสาวสุพัชรญา มะโนรา เลขที่
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ขั้นตอนการจัดนักศึกษาเข้าสังกัดสาขาวิชา
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การค้นในปริภูมิสถานะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
และผลการทดสอบทางการศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
กราฟเบื้องต้น.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 7
ครูปพิชญา คนยืน. สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 7 ครูปพิชญา คนยืน จงสร้างตารางแจก แจงความถี่ของ ข้อมูลต่อไปนี้ โดย กำหนดให้มี 5 ชั้น และหาขอบล่าง, ขอบบน.
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คะแนนมาตรฐาน Z ( Z Score) คะแนนมาตรฐาน T (T Score) เปอร์เซ็นต์ไทล์ 521995007 ขวัญธิดา มุณีรัตน์ 521995009 ฉารีฝ๊ะ หัดยี 521995012 นุสรา เพ็งแก้ว สาขาการวิจัยและประเมิน ภาคปกติ ชั้นปีที่ 1

คะแนนมาตรฐาน (standard score) คะแนนมาตรฐานเป็นคะแนนที่แปลงรูปมาจากคะแนนดิบ เพื่อให้มีความหมายชัดเจนยิ่งขึ้น โดยทั่วไปการแปลงคะแนนดิบให้เป็นคะแนนมาตรฐาน มี 2 วิธี คือ (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2527 : 10) 1. แปลงในรูปเส้นตรง (linear transformation) 2. แปลงโดยยึดพื้นที่ (area transformation)

คะแนนมาตรฐาน Z (Z-Score) คือคะแนนมาตรฐานที่มีลักษณะการกระจายเหมือนกับการกระจายของคะแนนดิบ(raw scores)ที่ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นคะแนนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ยของ Z-Score คือศูนย์ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานคือหนึ่ง

การคำนวณหาคะแนนมาตรฐาน Z

ลักษณะของคะแนนมาตรฐาน Z เป็นคะแนนมาตรฐานที่มีค่าเฉลี่ยเป็นศูนย์และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็นหนึ่ง คะแนนมาตรฐาน ที่เป็นลบ แสดงว่าคะแนนค่านั้นต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยและถ้าเป็นบวกแสดงว่าสูงกว่าค่าเฉลี่ย การเปลี่ยนคะแนนดิบให้เป็นคะแนนมาตรไม่จำกัดคะแนนเต็มของวิชาต่างๆ โดยปกติคะแนนมาตรฐาน Z จะอยู่ระหว่าง คะแนนที่มากกว่า 3 หรือน้อยกว่า –3 มีน้อยมาก แทบจะหาไม่ได้เลย ลักษณะการกระจายเหมือนกับการกระจายของคะแนนดิบ

คะแนนมาตรฐาน T (T-Score) คะแนนมาตรฐาน Z จะมีค่าได้ทั้งบวกและลบ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0 ทำให้เกิดความยุ่งยากในการตีความหมาย และมักจะเข้าใจผิดโดยเฉพาะเมื่อได้คะแนนมาตรฐาน Z เป็นลบ หรือ 0 ดังนั้น เพื่อแก้ปัญหาข้อนี้ จึงมีผู้เสนอคะแนนมาตรฐาน T โดยให้มีค่าเฉลี่ยเป็น 50 และ ความเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 10 เขียนเป็นสูตรได้ดังนี้ สูตร T = 10Z + 50 เมื่อ T แทน คะแนนมาตรฐาน T

ลักษณะของคะแนนมาตรฐาน T มีลักษณะการกระจายเหมือนกับการกระจายของคะแนนดิบ เป็นคะแนนมาตรฐานที่มีค่าเฉลี่ย 50 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10

เปอร์เซ็นต์ไทล์(Percentiles) เป็นค่าที่แบ่งข้อมูลออกเป็น 100 ส่วนเท่าๆกัน เมื่อข้อมูลถูกเรียงจากน้อยไปหามาก เนื่องจากค่าที่แบ่งจำนวนข้อมูลออกเป็น 100 ส่วนเท่าๆกัน มีอยู่ 99 ค่า ดังนั้นเราจึงตั้งชื่อแต่ละค่าว่า      เปอร์เซ็นไทล์ที่หนึ่ง  ใช้สัญลักษณ์ P1   คือค่าที่มีจำนวนข้อมูลน้อยกว่าค่านี้อยู่ประมาณ 1 ใน100 ของข้อมูลทั้งหมด       เปอร์เซ็นไทล์ที่สอง  ใช้สัญลักษณ์ P2  คือค่าที่มีจำนวนข้อมูลน้อยกว่าค่านี้อยู่ประมาณ 2 ใน100 ของข้อมูลทั้งหมด จะมีลักษณะเช่นนี้ไปเรื่อยๆจนถึงเปอร์เซ็นไทล์ที่เก้าสิบเก้า ใช้สัญลักษณ์ P99

การหาเปอร์เซ็นไทล์ 1.กรณีที่ข้อมูลยังไม่แจกแจงความถี่ ตำแหน่งของ P1 คือตำแหน่งที่ ( N + 1)( 1/100 ) ตำแหน่งของ P2 คือตำแหน่งที่ ( N + 1)( 2/100 ) จะมีลักษณะเช่นนี้ไปเรื่อยๆจนถึงตำแหน่งของ P99 คือตำแหน่งที่ ( N + 1)( 99/100 ) โดยทั่วไป ตำแหน่งของเปอร์เซ็นไทล์ที่ r คือ ตำแหน่งของ Pr คือตำแหน่งที่ ( N + 1 )( r/100 )

กรณีที่ข้อมูลแจกแจงความถี่            ตำแหน่งของ P1 คือตำแหน่งที่  N( 1/100 )             ตำแหน่งของ P2 คือตำแหน่งที่  N( 2/100 )  จะมีลักษณะเช่นนี้ไปเรื่อยๆจนถึงตำแหน่งของ P99 คือตำแหน่งที่ N( 99/100 )   โดยทั่วไป ตำแหน่งของเปอร์เซ็นไทล์ที่ r คือ ตำแหน่งของ Pr คือตำแหน่งที่ ( Nr/100 ) 

ตัวอย่าง ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 44 คน ได้คะแนนเรียงตามลำดับดังนี้   11, 12, 13, 18, 19, 24, 27, 28, 32, 32, 33, 33, 34, 34, 35, 35, 36, 36, 37, 38, 38, 39, 40, 41, 41, 42, 43, 44, 45, 45, 46, 47, 50, 54, 54, 55, 55, 56, 46, 56, 58, 58, 59, 60 จงหาเปอร์เซ็นไทล์ที่ 75                                                  

วิธีแปลงคะแนนดิบให้เป็นคะแนนมาตรฐาน T ปกติ มีขั้นตอนดังนี้ 1. สร้างตารางแจกแจงความถี่ โดยเรียงคะแนนจากมากไปหาน้อย เพื่อทำการลงรอยขีด (tally) 2. หาค่าความถี่ (f) และความถี่สะสม (cf) 3. หาค่า ของแต่ละชั้น โดยค่า cf ที่ต้องการเป็นค่า cf ที่อยู่ก่อนถึงชั้นนั้น (ชั้นที่คะแนนต่ำกว่า) 4. นำค่า ไปคูณด้วย ค่าที่ได้คือ ตำแหน่งเปอร์เซ็นต์ไทล์ (percentile rank = PR) 5. นำค่าตำแหน่งเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ได้ในข้อ 4 ไปเทียบเป็นค่า T ปกติ จากตารางสำเร็จรูป ต่อไปนี้    

ตาราง การเทียบตำแหน่งเปอร์เซ็นต์ไทล์เป็นคะแนน T ปกติ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 0.003 0.004 0.007 0.011 0.016 0.023 0.03 0.05 0.07 0.10 0.13 0.19 0.26 0.35 0.47 0.62 0.82 1.07 1.39 1.79 2.28 2.87 3.59 4.46 5.48 6.68 8.08 9.68 11.51 13.57 15.87 18.41 21.19 24.20 27.43 30.85 34.46 38.21 42.07 46.02 50.00 53.98 57.93 61.79 65.54 69.15 72.57 75.80 78.81 81.59 84.13 86.43 88.49 90.32 91.92 93.32 94.52 95.54 96.41 97.13 97.72 98.21 98.61 98.93 99.18 99.38 99.53 99.65 99.74 99.81 99.87 99.90 99.93 99.95 99.96 99.97 99.98 99.99

จงเปลี่ยนให้เป็นคะแนน T ปกติ ตัวอย่าง ในการสอบวิชาการประเมินผลการเรียน มีผู้เข้าสอบ 20 คน ปรากฏผลดังนี้ 11,12,15,20,18,17,16,16,19,18,15,15,15,13,12,12,17,13,12,14 จงเปลี่ยนให้เป็นคะแนน T ปกติ  คะแนน tally F cf T ปกติ 20 / 1 19.5 97.5 70 19 18.5 92.5 64 18 // 2 17 85 61 16 15 75 57 14 13 65 54 //// 4 12 10 50 8 7.5 37.5 47 7 6 30 45 5 3 40 11 0.5 2.5

สรุป

เข้าใจไหม ? ลองทำแบบฝึกหัดกันดูดีกว่า