(Mantel-Heanszel Produrc)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การประมาณค่าทางสถิติ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
Menu Analyze > Correlate
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
การทดสอบสมมติฐาน
การศึกษาความพึงพอใจของ
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
Chi-square Test for Mendelian Ratio
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
ผลการพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้แผนผัง ความคิด วิชา ครอบครัวศึกษาและความปลอดภัย ในชีวิต ( ) เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้ยา ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร.
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นางวรรณา อนะมาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
เทคโนโลยีสื่อประสมสอน ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ นายชูชีพ ขาวเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีนีร ชาบริหารธุรกิจ.
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(Mantel-Heanszel Produrc) การวิเคราะห์ความลำเอียงของข้อสอบด้วยวิธี แมนเทล-แฮนส์เซล (Mantel-Heanszel Produrc) อมลณัฐ อุบลรัตน์

วิธีแมนเทล-แฮลส์เซล เป็นเทคนิคที่แมนเทล-แฮนส์เซลได้เสนอขึ้นใช้ตั้งแต่ ปี 1959 แต่ฮอลแลนด์และเทเยอร์(Holland and Thayer) นำเสนอมาเพื่อใช้การตรวจสอบความลำเอียงของข้อสอบในปี 1988 และในปีนั้นก็ได้มีการตรวจสอบความลำเอียงของข้อสอบด้วยวิธีแมนเทล-แฮนส์เซล หรือเรียกย่อ ๆ ว่า MH

วิธีแมนเทล-แฮลส์เซล มีความคล้ายคลึงกับวิธีไคสแควร์ที่เสนอโดย ชูเนแมน มีความคล้ายคลึงกับวิธีไคสแควร์ที่เสนอโดย ชูเนแมน เป็นการเปรียบเทียบผลการตอบข้อสอบของกลุ่มผู้สอบ 2 กลุ่ม เสียประโยชน์จากข้อสอบในกรณีที่ข้อสอบมีความลำเอียงโดยมีการตรวจสอบทุก ๆ ระดับคะแนนรวมจากการสอบข้อสอบ

วิธีการในการตรวจสอบ แทนจำนวนผู้สอบในกลุ่มอ้างอิงที่มีคะแนนรวมในช่อง คะแนน j แทนจำนวนผู้สอบในกลุ่มเปรียบเทียบที่มีคะแนนรวมในช่อง คะแนน j เป็นจำนวนผู้สอบรวมทั้ง 2 กลุ่มที่ได้คะแนนรวม จากการสอบข้อสอบที่ I

ตารางสองทางแสดงผลการตอบ ถูก (1) และผิด (2) ตารางสองทางแสดงผลการตอบ ถูก (1) และผิด (2) คะแนนที่ได้จากข้อสอบที่ต้องการตรวจสอบ กลุ่ม รวม 1 NRj NFj Bj Dj Aj Cj กลุ่มอ้างอิง (R) กลุ่มเปรียบเทียบ (F)

หลักการวิเคราะห์ นำตารางมาคำนวณค่าความน่าจะเป็น ในรูปของค่าสัดส่วนการตอบถูกผิดระหว่าง กลุ่มโดย กำหนด ให้เป็นค่า

แทนจำนวนผู้ตอบถูกในกลุ่ม 1 ที่ระดับคะแนน j สูตรในการคำนวณ แทนจำนวนผู้ตอบถูกในกลุ่ม 1 ที่ระดับคะแนน j แทนจำนวนผู้ตอบผิดในกลุ่ม 1 ที่ระดับคะแนน j แทนจำนวนผู้ตอบถูกในกลุ่ม 2 ที่ระดับคะแนน j

แทนจำนวนผู้ตอบข้อสอบทั้งหมด ที่ระดับคะแนน j สูตรในการคำนวณ แทนจำนวนผู้ตอบผิดในกลุ่ม 2 ที่ระดับคะแนน j แทนจำนวนผู้ตอบข้อสอบทั้งหมด ที่ระดับคะแนน j

เกณฑ์พิจารณาความลำเอียง ข้อสอบไม่มีความลำเอียง ข้อสอบลำเอียงเข้าข้าง กลุ่มเปรียบเทียบ ข้อสอบลำเอียงเข้าข้าง กลุ่มอ้างอิง

การทดสอบนัยสำคัญของค่าสถิติไคสแควร์ ที่คำนวณได้ว่าแตกต่างจาก 1 อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 หรือไม่ ที่ระดับชั้นความเป็นอิสระเท่ากับ 1

สูตรในการคำนวณ เมื่อ

สมมติฐาน สำหรับทุกชั้นคะแนน j ,

MH DIF Education Testing Service’s ได้เสนอให้แปลงค่า ให้เป็นคะแนนมาตรฐานในรูปเดลต้าที่มีค่าเฉลี่ยเป็น 0 เรียกค่าที่แปลงนี้ว่า MH DIF

สมการ MH DIF

เกณฑ์การพิจารณาค่าของ ค่า ไม่แตกต่างจาก 0 แสดงว่าข้อสอบนั้น ไม่ลำเอียง ค่า แตกต่างจาก 0 มีค่าเป็นบวก (Positive) แสดงว่าข้อสอบลำเอียงโดยเข้าข้างกลุ่มเปรียบเทียบ ค่า แตกต่างจาก 0 มีค่าเป็น (Negative) แสดงว่าข้อสอบลำเอียงโดยเข้าข้างกลุ่มอ้างอิง