Amphawa Sustainable City

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Advertisements

การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้วยการวิจัย
ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
ผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองการปฏิบัติงานของ
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
วิสัยทัศน์ มุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
ภูมิปัญญาไทย.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
ข้อควรรู้เพิ่มเติม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง.
เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรม
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
ตัวอย่างสรุปข้อมูลผลงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่น
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
การจัดการศึกษาในชุมชน
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ นันทิตา ชนปทาธิป ชั้นป.4/2 เลขที่28
กิจกรรมขับเคลื่อน “ วาระชุมชน ”
พัฒนาการจังหวัดพิษณุโลก
จังหวัดภาคใต้ชายแดน 9.1 (ยะลา)
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
มุ่งการมองล่วงหน้า - ดักปัญหา การลดการใช้ขยะของชุมชน การเยี่ยมบ้านเด็กของครู-อสม. การส่งเสริมและป้องกันโรค การวิจัยความต้องการประชาชน การรับฟัง-ตอบปัญหาประชาชน.
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
กลุ่มสัมมนาผู้ปฏิบัติงาน โครงการ “ ทำดี มีอาชีพ ” กลุ่มที่ ๖ โครงการ “ ทำดี มีอาชีพ ” กับการแก้ปัญหาด้าน ความมั่นคง.
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความก้าวหน้าการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
พิจารณาทบทวนปรับ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนกลุ่ม 3
OSM ประชาชนในกลุ่มจังหวัดได้รับประโยชน์สูงสุด
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
งานส่งเสริมเคหกิจเกษตร
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
ยุทธศาสตร์ : การขับเคลื่อนแผนชุมชน เป้าประสงค์ : แผนชุมชนที่มีคุณภาพและนำไป ประโยชน์ แนวคิด : เป็นเครื่องมือสำหรับหมู่บ้านในการ พัฒนาตนเอง เป็นเครื่องมือ.
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การนำเสนอผลงานต่อณะ กรรมการตัดสินรางวัล STI THAILAND AWARD ประเภท วิสาหกิจชุมชน.
“ จัดการศึกษาให้ผู้เรียนทุก คนได้เรียนอย่างทั่วถึง มี คุณธรรม มีความรู้ ความสามารถ การอ่าน คิด วิเคราะห์ เขียนสื่อความ มี สุขภาพดี มีทักษะอาชีพตาม.
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
ประมวลภาพกิจกรรม โครงการวิจัย ทัศนคติของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ต่อผลกระทบของการท่องเที่ยวจังหวัดระนอง และ โครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน ความร่วมมือพัฒนาการท่องเที่ยวจังหวัดระนองอย่างยั่งยืน.
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
ไม่ใช่แค่ความเก่าธรรมดา แต่ ทรงคุณค่าระดับสากล. หูต่ง ชุมชนโบราณ ประเทศจีน หูต่ง (Hu Tong) ชุมชนโบราณ มรดกวัฒนธรรมกลางกรุงปักกิ่ง จาก สถาปัตยกรรมเก่าคร่ำคร่าที่เกือบจะถูกทุบทิ้ง.
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอ ภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ผลสัมฤทธิ์ของปราชญ์ : กรณีประเมินผล ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Amphawa Sustainable City

แนวทางการพลิกฟื้นตลาดน้ำอัมพวา แบบแหล่งท่องเที่ยวยั่งยืน

ให้ความสำคัญกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิต/ชุมชน เมืองยั่งยืน (Sustainable City) เป็นเมืองที่ให้ความสำคัญในการรักษาระบบนิเวศ พัฒนาจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิต/ชุมชน พัฒนาการมีส่วนร่วม ความร่วมมือ

เป้าหมายของการพัฒนา มุ่งไปสู่ความมั่นคงมากกว่าความมั่งคั่ง มั่นคงในทางเศรษฐกิจ มั่นคงทางด้านจิตใจ ด้านวัฒนธรรม การเมือง และด้านนิเวศ

ฟื้นฟูวิถีชีวิตชุมชน สร้างอาชีพ รายได้ เศรษฐกิจและสังคม สร้างจุดขายที่โดดเด่น แตกต่าง มีอัตลักษณ์ อย่างยั่งยืนและพอเพียง

ปัญหาของชุมชนอัมพวาก่อนการพัฒนา เศรษฐกิจถดถอย ขาดแหล่งงาน ประชาชนไม่มีรายได้ ผู้คนย้ายออกไปหางานทำที่อื่น  ครอบครัวกระจัดกระจาย วิถีชีวิต/ประเพณี/วัฒนธรรมท้องถิ่นสูญหาย/ถูกละทิ้ง ประชาชนมีทัศนคติไม่ดีต่ออาคารเก่า คิดว่าเป็นสัญลักษณ์ของความยากจน อยากรื้อทิ้ง ประกาศขายบ้าน/สวน

โมเดลของการทำตลาดน้ำอัมพวา

หลักการพัฒนาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ภูมิสังคม เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน หลักเศรษฐกิจพอเพียง ค้นหาคุณค่าของชุมชนอัมพวา ด้านประวัติศาสตร์ ด้านศิลปวัฒนธรรม ด้านสิ่งแวดล้อม

ตลาดน้ำอัมพวา ชุมชนอัมพวา กรุงเทพมหานคร อ่าวไทย 72 ก.ม. การพัฒนา 4 มิติ 1.People (ด้านชุมชน) พัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน สร้างความเข็มแข็ง/ยั่งยืน 2.Product (ด้านผลิตภัณฑ์) พัฒนาผลิตภัณฑ์ สินค้าและบริการให้มีความโดดเด่น 3.Place (ด้านการท่องเที่ยว) พัฒนาศักยภาพ/สร้าง แหล่งท่องเที่ยว/สถานที่ท่องเที่ยว 4.Preserve (ด้านอนุรักษ์) สร้าง/รักษา อัตลักษณ์ของท้องถิ่น ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

ล่องเรือชมหิ่งห้อย/ชุมชนริมน้ำ ที่พัก/โฮมสเตย์ อาหาร/ขนม/ผลไม้ ของที่ระลึก/ของฝาก

ของการทำตลาดน้ำอัมพวา หัวใจของความสำเร็จ ของการทำตลาดน้ำอัมพวา

คุณค่า มาก่อน มูลค่า เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม สังคม อนุรักษ์และฟื้นฟู วิถีชีวิต ขนมธรรมเนียม ประเพณี ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สร้างเศรษฐกิจ อาชีพและรายได้ เพิ่ม/สร้าง การผลิต การค้า การบริการ การท่องเที่ยว พัฒนาคุณภาพชีวิต ชุมชน เยาวชน ถ่ายทอดภูมิปัญญา พัฒนาองค์ความรู้

ข้าวแต๋นราดน้ำตาลมะพร้าว น้ำดอกไม้ (บัว กุหลาบ ดาหลา อัญชัน เข็ม) เสื้ออัมพวา/หิ่งห้อย

ไอศกรีมผลไม้ไทย (มะยมคลุกพริกเกลือ ฝรั่ง/มะขามคลุกบ๊วย มะม่วงน้ำปลาหวาน ฯลฯ) ซอสผลไม้ไทย (พริกบางช้าง ส้มโอ ลิ้นจี่ มะม่วง ฝรั่ง มะนาว ส้มแก้ว ชมพู่ สับปะรด ฯลฯ )

วิธีการสร้างความร่วมมือ จากชุมชนและนักท่องเที่ยว

ปลุกจิตสำนึก สร้างการมีส่วนร่วม ความรักต่อชุมชนและท้องถิ่น สร้างความรับผิดชอบต่อสังคมและส่วนรวม

โครงการปรับภูมิทัศน์ตลาดน้ำอัมพวา (ปี 2553-2554)

คำแนะนำสำหรับแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ ที่ต้องการสร้างรูปแบบแหล่งท่องเที่ยวยั่งยืน

ค้นหาคุณค่าของชุมชน นำเสนอจุดขายที่แตกต่าง โดดเด่น สร้างอัตลักษณ์ของชุมชน สินค้า ผลิตภัณฑ์และบริการของท้องถิ่น

ทำอย่างไรที่จะรักษาและสร้างสรรค์ คุณค่าของชุมชนผ่านคนในรุ่นต่อไป โดยได้รับมูลค่าของคุณค่าเหล่านั้น.