Amphawa Sustainable City
แนวทางการพลิกฟื้นตลาดน้ำอัมพวา แบบแหล่งท่องเที่ยวยั่งยืน
ให้ความสำคัญกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิต/ชุมชน เมืองยั่งยืน (Sustainable City) เป็นเมืองที่ให้ความสำคัญในการรักษาระบบนิเวศ พัฒนาจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิต/ชุมชน พัฒนาการมีส่วนร่วม ความร่วมมือ
เป้าหมายของการพัฒนา มุ่งไปสู่ความมั่นคงมากกว่าความมั่งคั่ง มั่นคงในทางเศรษฐกิจ มั่นคงทางด้านจิตใจ ด้านวัฒนธรรม การเมือง และด้านนิเวศ
ฟื้นฟูวิถีชีวิตชุมชน สร้างอาชีพ รายได้ เศรษฐกิจและสังคม สร้างจุดขายที่โดดเด่น แตกต่าง มีอัตลักษณ์ อย่างยั่งยืนและพอเพียง
ปัญหาของชุมชนอัมพวาก่อนการพัฒนา เศรษฐกิจถดถอย ขาดแหล่งงาน ประชาชนไม่มีรายได้ ผู้คนย้ายออกไปหางานทำที่อื่น ครอบครัวกระจัดกระจาย วิถีชีวิต/ประเพณี/วัฒนธรรมท้องถิ่นสูญหาย/ถูกละทิ้ง ประชาชนมีทัศนคติไม่ดีต่ออาคารเก่า คิดว่าเป็นสัญลักษณ์ของความยากจน อยากรื้อทิ้ง ประกาศขายบ้าน/สวน
โมเดลของการทำตลาดน้ำอัมพวา
หลักการพัฒนาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ภูมิสังคม เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน หลักเศรษฐกิจพอเพียง ค้นหาคุณค่าของชุมชนอัมพวา ด้านประวัติศาสตร์ ด้านศิลปวัฒนธรรม ด้านสิ่งแวดล้อม
ตลาดน้ำอัมพวา ชุมชนอัมพวา กรุงเทพมหานคร อ่าวไทย 72 ก.ม. การพัฒนา 4 มิติ 1.People (ด้านชุมชน) พัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน สร้างความเข็มแข็ง/ยั่งยืน 2.Product (ด้านผลิตภัณฑ์) พัฒนาผลิตภัณฑ์ สินค้าและบริการให้มีความโดดเด่น 3.Place (ด้านการท่องเที่ยว) พัฒนาศักยภาพ/สร้าง แหล่งท่องเที่ยว/สถานที่ท่องเที่ยว 4.Preserve (ด้านอนุรักษ์) สร้าง/รักษา อัตลักษณ์ของท้องถิ่น ชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ล่องเรือชมหิ่งห้อย/ชุมชนริมน้ำ ที่พัก/โฮมสเตย์ อาหาร/ขนม/ผลไม้ ของที่ระลึก/ของฝาก
ของการทำตลาดน้ำอัมพวา หัวใจของความสำเร็จ ของการทำตลาดน้ำอัมพวา
คุณค่า มาก่อน มูลค่า เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม สังคม อนุรักษ์และฟื้นฟู วิถีชีวิต ขนมธรรมเนียม ประเพณี ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สร้างเศรษฐกิจ อาชีพและรายได้ เพิ่ม/สร้าง การผลิต การค้า การบริการ การท่องเที่ยว พัฒนาคุณภาพชีวิต ชุมชน เยาวชน ถ่ายทอดภูมิปัญญา พัฒนาองค์ความรู้
ข้าวแต๋นราดน้ำตาลมะพร้าว น้ำดอกไม้ (บัว กุหลาบ ดาหลา อัญชัน เข็ม) เสื้ออัมพวา/หิ่งห้อย
ไอศกรีมผลไม้ไทย (มะยมคลุกพริกเกลือ ฝรั่ง/มะขามคลุกบ๊วย มะม่วงน้ำปลาหวาน ฯลฯ) ซอสผลไม้ไทย (พริกบางช้าง ส้มโอ ลิ้นจี่ มะม่วง ฝรั่ง มะนาว ส้มแก้ว ชมพู่ สับปะรด ฯลฯ )
วิธีการสร้างความร่วมมือ จากชุมชนและนักท่องเที่ยว
ปลุกจิตสำนึก สร้างการมีส่วนร่วม ความรักต่อชุมชนและท้องถิ่น สร้างความรับผิดชอบต่อสังคมและส่วนรวม
โครงการปรับภูมิทัศน์ตลาดน้ำอัมพวา (ปี 2553-2554)
คำแนะนำสำหรับแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ ที่ต้องการสร้างรูปแบบแหล่งท่องเที่ยวยั่งยืน
ค้นหาคุณค่าของชุมชน นำเสนอจุดขายที่แตกต่าง โดดเด่น สร้างอัตลักษณ์ของชุมชน สินค้า ผลิตภัณฑ์และบริการของท้องถิ่น
ทำอย่างไรที่จะรักษาและสร้างสรรค์ คุณค่าของชุมชนผ่านคนในรุ่นต่อไป โดยได้รับมูลค่าของคุณค่าเหล่านั้น.