โรงพยาบาลชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในหญิงติดเชื้อ โรงพยาบาลชัยภูมิ และผลที่ได้รับ วิชาญ ปลื้มชัยภูมิ, ภ.ม.(เภสัชกรรมคลินิก) และทีมคลินิกเอชไอวี โรงพยาบาลชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ
รพ.ชัยภูมิ รพ.ชัยภูมิ โรงพยาบาล ขนาด 500 เตียง โครงการ Access to Care: ATC กระทรวงสาธารณสุข ปี 2544 NAPHA (ฟรีทุกราย) NAP ส.ค.47 ได้รับสนับสนุนเครื่องตรวจวัด CD4 การเปิดบริการทุก วันพุธ-ผู้ใหญ่ และ วันจันทร์สำหรับผู้ที่ไม่พร้อมเข้าคลินิกวันพุธ
โครงสร้างการทำงานเอดส์ รพ.ชัยภูมิ ผู้อำนวยการ รพ.ชัยภูมิ นพ.สุนทร ยนต์ตระกูล คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการเอดส์ นพ.สมปอง เจริญวัฒน์ รอง ผอ.ฝ่ายการแพทย์ คุณสุวรรณา เมธีพัฒนวิวัฒน์ รอง ผอ.ฝ่ายการพยาบาล คลินิก HIV ผู้ใหญ่ คลินิก HIV เด็ก นพ.สมปอง เจริญวัฒน์ นพ.ชัยสิทธิ์ มัทวานนท์ ภก.วิชาญ ปลื้มชัยภูมิ ภญ.สุวลี เมฆาพิมานชัย ภญ.วัชรินทร์ยา วรชัย นางประคอง ดาดจันทึก นางพนมวรรณ ศักดิ์ศิริ กลุ่มงานเภสัชกรรม กลุ่มการพยาบาล นางสุภาภรณ์ อยู่เจริญ นางอรดี ชัยลาด นางบุญแย้ม วรพล นางอนุสรา หวังสุดดี เวชกรรมสังคม นายวรวุฒิ มาตา นางสัมฤทธิ์ วงศ์จันทึก กลุ่มงานชันสูตรและ พยาธิวิทยาคลินิก นางสำรี พิเศษฤทธิ์ นางศรีสุดา ธรรมประโชติ นายบัวหงษ์ ธรรมประโชติ นายเธฤทธิ์ คำนาแซง กลุ่มพลังรัก
สถานการณ์เอดส์ จังหวัดชัยภูมิมีผู้ป่วยสะสม 4,765 ราย รับ ARV 2,242 ราย ปี 2551 รพ.ชัยภูมิ มีผู้ป่วย(ผู้ใหญ่) เข้ารับบริการต่อเนื่อง 692 ราย - หญิง 321 ราย - ชาย 371 ราย
Setting in the past
One stop service clinic กลับบ้าน
ทุกคนได้รับการตรวจตาม การตรวจ Pap smear ทุกคนได้รับการตรวจตาม โครงการ Pap smear 100% แล้วไม่ใช่รึ
HIVQUAL-T ปี 2549 ก่อนดำเนินการ
เมื่อผลเป็นอย่างนี้ พวกเราจะทำยังไง ต่อไป
Setting in the present
การประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คลินิก HIV ผู้ใหญ่ การตรวจ Pap smear กลุ่มการพยาบาล เวชกรรมสังคม กลุ่มงานชันสูตรและ พยาธิวิทยาคลินิก นรีแพทย์ ผู้ป่วย
STD clinic กลับบ้าน
การดำเนินงาน ปี 2550-2551 STD clinic
ผลการวัดการปฏิบัติงานด้านการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วย HIVQUAL-T
ผลการดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่คลินิกโรคติดเชื้อเอชไอวี รายละเอียด ก.ค.- 30 ก.ย.2550 1 ต.ค.2550 - 30 ก.ย.2551 ตรวจ Pap smear, ราย 62 134 ผลการตรวจปกติ, ราย 54 113 ผลการตรวจผิดปกติ, ราย(%) ASCUS LSIL or CIN I HSIL or CIN II, III Squamous cell carcinoma 8(12.9) 2 3 1 21(15.67) 13 6 -
ผลตรวจ Pap smear ผิดปกติทุกคนได้รับการ และส่งต่อพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจติดตามตาม และส่งต่อพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
สิ่งที่ได้เรียนรู้ การให้ข้อมูลความรู้และสร้างความตระหนักในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ส่งผลให้เกิดความร่วมมือที่ดีในการตรวจ สัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ที่ทำการตรวจ และระบบการตรวจที่สะดวก รวดเร็ว มีผลต่อการเข้ารับตรวจคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูกของผู้ป่วย การทำงานร่วมกันเป็นทีมและการประสานงานที่ดีระหว่างหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเป็นสิ่งที่สำคัญ ระบบการแจ้งเตือนผู้ป่วยในการตรวจ มีส่วนช่วยให้ผู้ป่วยวางแผนเข้ารับการตรวจได้อย่างเหมาะสม เจ้าหน้าที่มีความรู้และความเข้าใจในเรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูกมากขึ้น
สำหรับทีมงานรพ.ชัยภูมิทุกท่าน และ สอวพ. ขอบคุณครับ